การประเมินมาตรฐานความสำเร็จการบริหารทรัพยากรบุคคลของเทศบาลในจังหวัดลำปาง

Main Article Content

Thanawit Butrudom

Abstract

The research entitled ‘The assessment of HR Scorecard for human resource administration of municipalities in Lampang’ aimed at assessing the standard of success for human resource administration of municipalities in Lampang province and defining the methods to develop the human resource administration of municipalities in Lampang province by collecting data from 42 municipalities, 400 samples.


            The analysis of relation on the success factors in human resource deriving result from Stepwise method found that 5 independent variables consisting of Strategic Alignment, HRM Efficiency, HRM Effectiveness, HRM Accountability, and Quality of Work Life including dependent variable, success of human resource administration, were able to be analyzed for studying the dependent variable affecting the success of human resource administration using statistical significance at .05  and all of these independent variables were able to explain the variation of success on human resource at  97.10% (R2 = .942) The result found that there were only 3 factors affecting the statistical significance that were HRM Efficiency, HRM Effectiveness and Strategic Alignment.

Article Details

Section
Research articles

References

กฤติยา จินตเศรณี. 2557. การบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ของสายสนับสนุนวิชาการเพื่อ รองรับการเป็น มหาวิทยาลัยวิจัย ของมหาวิทยาลัยบูรพา. งานนิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย บูรพา.

กลุ่มบริหารงานบุคคล สำนักปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. มปป. การพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลตาม แนวทาง HR SCORECARD.

จินต์จุฑา จันทร์ประสิทธิ์. 2559. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของบุคลากรทางการศึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

ทิพย์วรรณ จูมแพง กุหลาบ รัตนสัจธรรม และวัลลภ ใจดี. 2555. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐตามการรับรู้ของบุคลากรในหน่วยงานระดับเขตกระทรวงสาธารณสุข. วารสารสาธารณสุข มหาวิทยาลัยบูรพา. ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2555.

ธนวิทย์ บุตรอุดม. ปัจจัยความสำเร็จในการบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษาเทศบาลในจังหวัด ลำปาง. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. ปีที่ 9 ; ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2560).

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ และคณะ. 2546. รายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง ทิศทางการปกครองท้องถิ่นของประเทศไทยและ ต่างประเทศ. กรุงเทพฯ : พิมพ์ลักษณ์.

มุทิตา วรกัลยากุล. 2556. ความสำเร็จในการบริหารงานของเทศบาลนครรังสิต จังหวัดปทุมธานี. วารสารวิทยบริการ. ปีที่ 25 ฉบับที่ 1 มกราคม – มีนาคม 2556.

พระพงษ์ชัย ชยวโส (พุทธวชิรกุล). 2556. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ของสานักงานบริหารงานโครงการพระธรรมจาริกส่วนภูมิภาค. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พิสิษฐ์ พลอินทร์. มปป. การประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรในโรงพยาบาลกลาง
ภัทราวดี พรหมสุวรรณ์. 2548. การศึกษาปัจจัยสนับสนุนการนำแนวคิด Balance Scorecard มาใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน. วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรมนุษย์) มหาวิทยาลัยบูรพา.

สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงาน สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. 2549. การจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลตามแนวทาง HR Scorecard. กรุงเทพ : บริษัท พี.เอ.ลิฟวิ่ง จำกัด.

สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.2547. HR Scorecard การประเมินระบบบริหารทรัพยากรบุคคล. กรุงเทพ : กลุ่มโรงพิมพ์ สำนักบริหารกลาง สำนักงานก.พ.

สุรพงษ์ มาลี. 2554. บทวิเคราะห์ประกอบการพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการท้องถิ่น พ.ศ....กรุงเทพ : สำนักส่งเสริมวิชาการรัฐสภา สถาบันพระปกเกล้า.

อัจฉรา หล่อตระกูล. 2557. การพัฒนาสมรรถนะพนักงานมหาวิทยาลัยของรัฐ. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.