การสร้างแนวคิดชาตินิยมไทยผ่านทางการศึกษา วัฒนธรรม และงานนิพนธ์

Main Article Content

เด่นพงษ์ แสนคำ

Abstract

This study aims to investigate the characteristics of nationalism conceptualization in Thai society based on education culture and literature and its effects on Thai Society. The study applied the documentary analysis and interpretation to collect the data. The finding indicated that Thai identity and having a characteristic of Thai were strongly generated by literature. It can be obviously seen that many Thai literate people have been creating literature for serving the authority of the government. They expect that literature are able to be the best main instrument delivering Thai identity to every part in Thai society. The importance of literature that related to education are inserted in the content of textbook for making learners realize in the same pattern of Thai identity. Besides, Thai culture is one of discourses produced by the government to be a crucial part in emphasizing Thai identity of people. It is also a part of Thai education. Generating unity leads to racial and ethnic segregations and sometimes causes ethnic conflicts. So, whether it be education, culture, or literature which are under the authority of the government, they was proceeded to emphasize the importance of unity among Thai society. Moreover, the government try to encourage people from different ethnic to adjust themselves having a characteristic of Thai which is conceptualized via education, culture, and literature under the authority of the government. They also stimulate them to overlook giving priority to pluralism in contemporary world for highlight the unity in the society.

Article Details

Section
Research articles
Author Biography

เด่นพงษ์ แสนคำ, มหาวิทยาลัยขอนแก่น

1. การศึกษา จบการศึกษาปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปัจจุบันกำลังศึกษาระดับปริญญาตรีหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 

2. สถานะ เป็นนักวิจัยประศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

3. ที่อยู่สำหรับติดต่อ  82 หมู่ที่ 1 ตำบลเมืองหงส์  อำเภอจตุรพักตรพิมาน  จังหวัดร้อยเอ็ด 45180

4. โทรศัพท์ 0912822400

References

จิระพันธ์ ชาติชินเชาวน์. (2537). การดำเนินนโยบายชาตินิยมในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกประวัติศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ชาญณรงค์ บุญหนุน. (2557). พุทธศาสนาประจำชาติไทยในรัฐธรรมนูญ. วารสารสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย, 9(2), 45–78.

ชาตรี ประกตินนทการ. (2547). การเมืองและสังคมในศิลปะสถาปัตยกรรมสยาม สมัยไทยประยุกต์ชาตินิยม. กรุงเทพมหานคร: ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ.

ธงชัย วินิจจะกูล. (2554). ธงชัย วินิจจะกูล: มรดกสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปัจจุบัน. เข้าถึงได้จาก ประชาไท: https://prachatai.com/journal/2011/05/34433, เข้าถึงเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2560

ธีรยุทธ บุญมี. (2546). ชาตินิยมและหลังชาตินิยม. กรุงเทพมหานคร: สายธาร.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2556). ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะศาสนาประจำชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 19. กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา, 2556.

มัทนา เกษกมล. (2517). การวิเคราะห์ในเชิงประวัติศาสตร์เรื่องการเมืองและการปกครอง ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2453-2463). วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิทย์ วิศทเวทย์. (2526). ปรัชญาการศึกษาไทย 2411-2475. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

วุฒิชัย มูลสิน. (2516). การปฏิรูปการศึกษาในรัชกาลที่ 5. กรุเทพมหานคร: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.

ศิริพร สุเมธารัตน์. (2528). แนวพระราชดำริทางพุทธศาสนาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการเมืองการปกครอง.
วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สายชล สัตยานุรักษ์. (2548). การเมืองและการสร้าง "ความเป็นไทย" โดย ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช. รายงานผลการวิจัยโครงการ ประวัติศาสตร์วิธีคิดเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมไทยของปัญญาชน พ.ศ.2435-2535. เชียงใหม่: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

___________. (2550). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการประวัติศาสตร์วิธีคิดเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมไทยของปัญญาชน (พ.ศ.2435-2535). ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

___________. (2551). ชาตินิยม วัฒนธรรม และความขัดแย้ง, ใน บทความแนวคิดประชุมวิชาการชาตินิยมกับพหุวัฒนธรรม. เชียงใหม่: ศูนย์ภูมิภาคด้านสังคมศาสตร์และการพัฒนาอย่างยั่งยืน คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

___________. (2556). พระยาอนุมานราชธน ปราชญ์สามัญชนผู้นิรมิตรความเป็นไทย. กรุงเทพมหานคร: มติชน.

อัจฉราพร กมุทพิสมัย. (2525). อุดมการชาตินิยมของผู้นำไทย, ใน สองศตวรรษรัตนโกสินทร์ : ความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.