การศึกษาความชุกของพุทธิปัญญาบกพร่องของผู้สูงอายุ

Main Article Content

เอกลักษณ์ แสงสิริลักษณ์

บทคัดย่อ

กลุ่มศึกษา: ผู้ที่อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภูมิลำเนาในเขตเทศบาลเมืองยโสธร
ระยะเวลาที่ศึกษา: เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2557
ระเบียบวิธีศึกษา: เป็นการวิจัย เชิงพรรณนาแบบสำรวจภาคตัดขวาง (Descriptive cross-sectional study) โดยใช้เครื่องมือคือแบบสอบถาม 2ส่วน ได้แก่ 1) แบบสำรวจข้อมูลทั่วไปได้แก่ข้อมูลด้านประซากรศาสตร์ อายุ อาชีพ สถานภาพสมรส การศึกษา 2) Chula clock draw-ing test (CDT)
ผลการศึกษา: จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 353 ราย พบความซุกของพุทธิปัญญาบกพร่อง (cognitive impairment) จำนวน 227 ราย คิดเป็นร้อยละ 64.3 การทำ univariate analysis พบปัจจัยที่สัมพันธ์กับพุทธิปัญญาบกพร่อง ได้แก่ อายุที่มากกว่า 70 ปี มีพุทธิปัญญา บกพร่อง ร้อยละ 69 (p-value = 0.022, ODD ratio 1.61, 95% Cl 1.04-2.50) ระดับ การศึกษาน้อย มีพุทธิปัญญาบกพร่องมากกว่าการศึกษาสูง (p-value = 0.039)
สรุป: ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองยโสธรมีพุทธิปัญญาบกพร่อง 227 คน จาก 353 คน ร้อยละ 64.3

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

1. Buranee Kanchanatawan, Sutthichai Jitapunkul, Siriluk Supapitiporn, Validity of Clock Drawing Test (CDT) Scoring by Chula Clock-Drawing Scoring System (CCSS) in Screening Dementia among Thai Elderly in Community Med Assoc Thai 2006;89:8:1150

2. The global burden of disease: 2004 update. World Health Organization: 2008.

3. World Alzheimer’s Report 2009. Alzheimer’s disease International. London, 2009.

4. World Health Organization, World suicide prevention day 2012. Available from: https://www.who.int/mediacentre/events/annual/world_suicide_prevention_day/ en/Accessed 16.6.2012

5. Jitapunkul S, Worakul P, Kiatprakoth J. Validity of clinical use of the clock-drawing test in Thaielderly patients with memory problems. J Med Assoc Thai 2000; 83: 342-7.

6. Sadock BJ, Sadock VA. Kaplan and Sadockus synopsis of psychiatry. 10th ed. Philadelphia:Wolter Kluwer/Lippincott Williams & Wilkins; 2007.

7. Sadock BJ, Sadock VA. Kaplan and Sadockus synopsis of psychiatry. 10th ed. 2007. Delirium ,Dementia and Amnestic and Other Cognitive Disorders; 329-44

8. Bruce J, McQuiggan M, Williams V, Westervelt H, Tremont G. Burden among Spousal and Child Caregivers of Patients with Mild Cognitive Impairment. Dementia and Geriatric Cognitive Disorder 2008;25:385-90.

9. Dewey ME, Saz P. Dementia, cognitive impairment and mortality in persons aged 65 and over living in the community: a systematic review of the literature. Geriatric Psychiatry 2001;16:751-61.

10. บุญชัย นวมงคลวัฒนา, พันธุนภา กิตติรัตนไพบูลย์, เกษราภรณ์ เคนบุปผา. การสำรวจความบกพร่องทางพุทธิปัญญาในผู้สูงอายุไทย : การศึกษาระดับชาติ ปี 2551, วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2010;18:1:53-68

11. ธรรมนาถ เจริญบุญ, มุทิตา พนาสถิต, สุขเจริญ ตั้งวงษ์ไชย, โสฬพัทธ์ เหมรัญชโรจน์, พวงสร้อย วรกุล. ความชุกของโรคซึมเศร้าและโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปในเขตกรุงเทพมหานคร. ธรรมศาสตร์เวชสาร 2543;10:4:428-36.

12. Annette L. Fitzpatrick, Lewis H. Kuller, Oscar L. Lopez, Claudia H. Kawas. Alzheimer’s disease and dementia. Journal of the Neurological Sciences, 2005, 229-230:43-4

13. Bush C, Kozak J, Elmslie T, Watson Yl, Arfken CL, Birge SJ. Screening for cognitive impairment in the elderly clock completion: an objective screening test for dementia. Can Fam Physician 1997;43:1763-8.

14. Phanthumchinda K, Jitapunkul S, Sitthi-amorn C,Bunnag SC, Ebrahim S. Prevalence of dementia in an urban slum population in Thailand: validity of screening methods. Int J Geriatr Psychiatry 1991;6:639-46.