การดื้อยาต้านไวรัสฃองผู้ติดเชื้อเอซไอวี

Main Article Content

สุนีย์ เมธาจิรภัทร

บทคัดย่อ

หลักการและเหตุผล: นับตั้งแต่ประเทศไทยเริ่มให้ยาต้านไวรัสรักษาผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี ทำให้ผู้ป่วยเหล่านี้ มีอัตราการรอดชีวิตมากขึ้น รวมทังการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยเบื้องต้นมีการให้ยาต้าน ไวรัสสูตรพื้นฐานก่อนจึงมีผู้ป่วยเอชไอวีทีได้รับยาต้านไวรัสมากขึ้นต่อมารัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายให้มีการส่งตรวจหาการดื้อยาต้านไวรัสอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทำให้พบผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีที่ดื้อยาต้านไวรัสมากขึ้นและเร็ว ทำให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มสูงขึ้น ดังนั้น การศึกษาข้อมูลดังกล่าวจะเป็นประโยซนไนการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุก และศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่พบในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีที่ดื้อยาต้านไวรัส ในโรงพยาบาลสุรินทร์
วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาย้อนหลังในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีที่ดื้อยาต้านไวรัสในคลินิกภูมิคุ้มกับบกพร่อง โรงพยาบาลสุรินทร์ตั้งแต่ พ.ศ.2544 -พ.ศ.2555 เป็นระยะเวลา11ปีโดยพิจารณาจาก เกณฑ์การวินิจฉัยการรักษาล้มเหลวในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไป ประวัติ การรักษา และปัจจัยทีเกี่ยวข้อง พร้อมทั้งศึกษาความชุกของการดื้อยาต้านไวรัสในโรงพยาบาลสุรินทร์
ผลการศึกษา: มีผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี ที่มารับบริการคลินิกภูมิคุ้มกันบกพร่องโรงพยาบาลสุรินทร์ ทั้งหมด 1,370 คน พบผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีที่ดื้อยาต้านไวรัส 36 คน (ร้อยละ 2.6) พบผู้ป่วยเพศชาย 24 คน (66.796) เพศหญิง 12 คน (33.3%) อายุเฉลี่ย 33.9 + 8.3 ปี ปัจจัยที่ศึกษาคือ สาเหตุการติดเชื้อ ร้อยละและจำนวนเม็ดเลือดขาว CD4 เริ่มต้น ระยะเวลาการได้รับยา ต้านไวรส ปริมาณไวรัสที่ตรวจพบการดื้อยา จำนวนตำแหน่งทีตรวจพบการกลายพันธุ์ และ adherence เมือเปรียบเทียบในเพศชายและเพศหญิงพบว่า ร้อยละเม็ดเลือดขาว CD4 เริ่ม ต้นในเพศหญิงสูงกว่าเพศชายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( P - 0.048 )
สรุปผลการศึกษา: การให้ยาต้านไวรัสในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีทำให้ผู้ป่วยมีคูณภาพชีวิตที่ขึ้น ต่อมาพบผู้ป่าย ดื้อยาต้านไวรัสมากขึ้น ทำให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขี้น ดังนั้นการที่เราทราบปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กับการดื้อยาต้านไวรัส จะช่วยให้ผู้รักษาตระหนักและใช้เป็นแนวทางกันการดื้อยาต้านไวรัสในผู้ป่วย เพื่อประโยชน์แก่ผู้ป่วย ครอบครัวผู้ป่วย และประเทศชาติต่อไป
คำสำคัญ: การดื้อยาต้านไวรัสเอชไอวี, การรักษาล้มเหลว, โรคเอชไอวี

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

1. ประพันธ์ ภานุภาค, มนูญ ลีเชวงวงศ์, ทวีทรัพย์ ศิระประภาศิริ,บรรณาธิการ.แนวทางการตรวจ วินิจฉัยและการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ ระดับชาติ ปี พ.ศ. 2553. กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย ; 2553.
2. Frank J, Kathleen M, Anne C, et al. Declining morbidity and mortality among patients with advanced human immunodeficiency virus infection. NEJM 1998;338:851-60.
3. Phanuphak P, Locharernkul C, Panmuong W, Wide H. A report of three cases of AIDS in Thailand. Asian J Allerg Immunol 1985;3:195-9.
4. ศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. มีนาคม พ.ศ.2555; 350:1023 -35.
5. Calmy A, Pascual F, Ford N. HIV drug resistance. N Engl J Med. 2004 ; 350:26:2720-1.
6. Little SJ, Daar ES, D’Aquila RT, et al. Reduced antiretroviral drug susceptibility among patients with primary HIV infection. JAMA 1999; 282: 1142-9.
7. Yerly S, Kaiser L, Race E, Bru JP, Clavel F, Perrin L. Transmissionof antiretroviral- resistant HIV-1 variants. Lancet 1999, 354: 729-733.
8. Boden D, Hurley A, Zhang L, Cao Y, Guo Y, Jones E, et al. HIV-1 drug resistance in newly infected individuals. JAMA
; 282:1135-41.
9. Grymonpre RE, Didur CD, Montgomery PR, Sitar DS. Pill count, self-report, and pharmacy claims data to measure medication adherence in the elderly. Ann Pharmacother 1998; 32: 749-54.
10. Sungkanuparph S, Techasathit W, utaipiboon C, Chasombat S, Bhakeecheep S, Leechawengwongs M, et al. Thai national guidelines for antiretroviral therapy in HIV-1 infected adults and adolescents 2010. Asian Biomedicine 2010, 4:515-28.
11. Cohen J. Thailand’s do-it-yourself therapy. Science 2003; 301:5640:1662.
12. Apisarnthanarak A, Jirayasethpong T, Sa-nguansilp C, Thongprapai H, Kittiha- nukul C, Kamudamas A. et al. Antiret¬roviral drug resistance among antiretroviral-naive persons with recent HIV infection in Thailand. HIV Med 2008;9:5:322-5.
13. Lucas M, Chaisson R, Moore R. High active antiretroviral therapy in a large urban clinic: risk factors for virologic failure and adverse drug reactions. Ann Intern Med 1999;131: 2:81-7.
14. Tangvoraphonkchai K, Sungkanaparph S. The incidence and risk factors of virologic failure in HIV - infected patients receiving the first regimen of antiretroviral therapy. J Infect Dis Antimicrob Agent 2011; 28: 161-8.
15. โอภาส การย์กวินพงศ์, สม-บติ แทนประเสริฐสุข7 สัญซัย ซาสม'บติ. การดื้อยาต้านไวรัสเอ'ซไอวี ภายหลังการดำเนินโครงการพัฒนๅระนบ บริการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านไวรัส จังหวัด อุบลราขธานี. วารสารโรคเอดส์ 2551;20:115-226.
16. Sethi A, Celentano D, Gange S. Association between adherence to antiretroviral therapy and human immunodeficiency virus drug resistance. CID 2003;37:1112-8.
17. Kiertiburanakul S, Sungkanaparph S. Emerging of HIV drug resistance: Epidemiology, Diagnosis, Treatment and Prevention. Current HIV Research 2009;7:273-78.
18. Sirivichayakul S, Phanuphak P, Pankam T, O-Charoen R, Sutherland D, Ruxrungtham K. et al. HIV drug resistance transmission threshold survey in Bangkok, Thailand. Antivir Ther 2008;13 Suppl 2:109-13.
19. Sungkanuparph S, Manosuthi W, Kiertiburanakul S, Piyavong B, Chumpathat N, Chantratita W. Options for the second antiretroviral regimen of HIV-infected patient failing an ignition regimen of fixed dose combination of stavudine, lamivudine and nevirapine. Clin Infect Dis 2007;44:447-52.
20. Manosuthi W, Tantanathip P, Prasithi- sirikul W, Likanonsakul S, Sungkanuparph S. Durability of stavudine, lamivudine and nevirapine among advanced HIV-1 infected patients with/without prior co-administration of rifampicin: a 144 - week prospective study. BMC Infect Dis 2008;8:136.
21. Harrigan PT, Hogg RD, Winnie WYD, Yip B, Wynhoven B, Woodward J. et al. Predictor of HIV drug-resistance mutations in a large antiretroviral-nal've cohort initiating triple antiretroviral therapy. Journal of Infectious Disease 2005;191: 339-47.