การจัดการกลุ่มอาการด้านทางเดินอาหารและอาการเหนื่อยล้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัด

Main Article Content

วรรณรัตน์ จงเขตกิจ
ปิยะพร พรหมแก้ว
ดาลิมา สำแดงสาร

บทคัดย่อ

     บทความวิชาการฉบับนี้เขียนจากการทบทวนวรรณกรรมและประสบการณ์การทำงานของผู้เขียน ซึ่งกล่าวถึงการจัดการกลุ่มอาการด้านทางเดินอาหารและอาการเหนื่อยล้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัดแนวคิดกลุ่มอาการ กลไกของเคมีบำบัด การประเมินประสบการณ์กลุ่มอาการ การจัดการกลุ่มอาการ กลวิธีการจัดการอาการในกลุ่มอาการ และประสบการณ์การใช้โปรแกรมส่งเสริมการจัดการกลุ่มอาการด้านทางเดินอาหารและอาการเหนื่อยล้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด พบว่า กลุ่มอาการด้านทางเดินอาหารและอาการเหนื่อยล้า เป็นกลุ่มอาการที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด ทั้งในด้านความรุนแรง และความทุกข์ทรมาน อีกทั้งยังมีผลให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัดลดลง หากไม่สามารถจัดการกับอาการในกลุ่มอาการที่เกิดขึ้นได้ อีกทั้งยังพบว่า ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัดสามารถจัดการกับกลุ่มอาการด้านทางเดินอาหารและอาการเหนื่อยล้าได้ด้วยการจัดการอาการผ่านอาการที่เกิดขึ้นในกลุ่มอาการดังกล่าว โดยมีขั้นตอนของการประเมินประสบการณ์อาการ การจัดการอาการในกลุ่มอาการ และการประเมินผลลัพธ์การจัดการอาการในกลุ่มอาการ
     คำสำคัญ: มะเร็งเต้านม, กลุ่มอาการ, การจัดการกลุ่มอาการด้านทางเดินอาหารและอาการเหนื่อยล้า

Article Details

บท
บทความฟื้นฟูวิชาการ

References

1. กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ. ทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: บริษัท พรทรัพย์การพิมพ์ จำกัด; 2561.

2. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. สถิติสาธารณสุข 2560. นนทบุรี: กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข; 2560.

3. อภิญญา ปริสุทธิ์กุล, มะลิวรรณ สุคันธพันธ์, ทิพย์วรรณ อรัญตร, อรุณี เดชาพันธุ์กุล, นันทนภัส พรุเพชรแก้ว. ประสบการณ์การมีอาการ กลวิธีการจัดการอาการและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด. วารสารโรคมะเร็ง 2556;33(3):98-110.

4. Cherwin CH. Gastrointestinal symptom representation in cancer symptom clusters: a synthesis of the literature. OncolNurs Forum 2012;39(2):157-65.

5. Barsevick AM, Whitmer K, Nail ML, Beck LS, Dudley NW. Symptom clusters research: Conceptual, design, measurement, and analysis issues. J Pain Symptom Manage 2006;31(1), 85-95.

6. Suwisith N, Hanucharurnkul S, Dodd M, Vorapongsathorn T, Pongthavorakamol K, Asavametha N. Symptom cluster and functional status of woman with breast cancer. Thai J Nurs Res 2008; 12(3) :153 – 65.

7. Phligbua W, Pongthavornkamol K, Knobf TM., Junda T, Viwatwongkasem C, Srimuninnimit V. Symptom clusters and quality of life in women with breast cancer receiving adjuvant chemotherapy. Pacific Rim Int J Nurs Res 2013;17(3):249-67.

8. Clayton BD. Willihnganz MJ. Antimicrobial Agents. In: Clayton BD. Willihnganz MJ. Basic pharmacology for nurses. 16th.ed. Philadephia: Elsevier Mosby; 2013: 698-717.

9. Karch AM. Lippincott’s nursing drug guide. 15th.ed. Philadelphia: LWW; 2015.

10. Chinda M, Jaturapatporn D, Kirshen AJ, Udomsubpayakul U. Reliability and validity of a Thai version of the edmonton symptom assessment scale (ESAS-Thai). J Pain Symptom Manage 2011;42(6):954-60.

11. วรรณรัตน์ จงเขตกิจ. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการจัดการกลุ่มอาการด้านทางเดินอาหารและอาการเหนื่อยล้าต่อประสบการณ์อาการและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑิต].สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่, คณะพยาบาลศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย; สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2560.

12. Piper BF, Dibble SL, Dodd MJ, Weiss MC, Slaughter RE, Paul SM. The revised Piper Fatigue Scale: psychometric evaluation in women with breast cancer. Oncol Nurs Forum 1998;25(4):677-84.

13. ปิยวรรณ ปฤษณภานุรังษี, สมจิต หนุเจริญกุล, วรชัย รัตนธราธร. แบบแผนความอ่อนล้าปัจจัยที่เกี่ยวข้องและการดูแลตนเองของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด. รามาธิบดีพยาบาลสาร 2544;7(2):97-110.

14. วรพรรณ คำฝั้น, ทิพาพร วงศ์หงส์กุล, นิตยา ภิญโญคำ. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการจัดการกับอาการต่ออาการเหนื่อยล้า ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัด. พยาบาลสาร 2554;38(2):1-17.

15. เพียงใจ ดาโลปการ. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความเหนื่อยล้าของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑิต]. สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่, คณะพยาบาลศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย; กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2545.

16. มาศอุบล วงศ์พรหมชัย. ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอาการ กลยุทธ์การจัดการกับอาการ การสนับสนุนทางสังคม กับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑิต]. สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่, คณะพยาบาลศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย; กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2548.

17. Hann DM, Denniston MM, Baker F. Measurement of fatigue in cancer patients: further validation of the Fatigue Symptom Inventory. Qual Life Res 2000;9(7):847-54.

18. สิรินุช บูรณะเรืองโรจน์, สายพิณ เกษมกิจวัฒนา, ณรงค์ กีรติวิทยานันท์, คะนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล.ประสบการณ์และการจัดการกับอาการอ่อนล้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด.วารสารสภาการพยาบาล 2549; 21(2): 47-62.

19. Kim HJ, McGuire DB, Tulman L, Barsevick AM. Symptom clusters: concept analysis and clinical implications for cancer nursing. Cancer Nurs 2005;28(4):270-82; quiz 283-4.

20. Miaskowski C, Dodd M, Lee K. Symptom clusters: the new frontier in symptom management research. J Natl Cancer Inst Monogr 2004;(32):17-21.

21. Dodd MJ, Miaskowski C, Paul SM. Symptom clusters and their effect on the functional status of patients with cancer. Oncol Nurs Forum 2001;28(3):465-70.

22. Lenz ER, Pugh LC, Milligan RA, Gift A, Suppe F. The middle-range theory of unpleasant symptoms: an update. ANS Adv NursSci 1997;19(3):14-27.

23. Dodd M, Janson S, Facione N, Faucett J, Froelicher ES, Humphreys J, et al. Advancing the science of symptom management. J Adv Nurs 2001;33(5):668-76.

24. เสาวลักษณ์ ฝอยทอง, ธีรนุช ห้านิรัติศัย, ชดช้อย วัฒนะ. ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการต่อประสบการณ์อาการที่พบบ่อยในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด. วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2555;24(3):107-19.

25. อุสาห์ รุจิระวิโรจน์. การจัดการอาการคลื่นไส้และอาเจียนในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด.[วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑิต]. สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่, คณะพยาบาลศาสตร์,บัณฑิตวิทยาลัย; กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2543.

26. Jame AG, Solove RJ. Nausea and Vomiting: Treatment Guidelines for Patients with Cancer. NCCN 2007; 4:i-38.

27. อุบล จ๋วงพานิช, จุรีพร อุ่นบุญเรือน, จันทราพร ลุนลุด, อาทิตยา ประนัดสุดจ่า, ทิพวรรณขรรศร.ศึกษาประสิทธิผลการกดจุดด้วยตนเองและใช้สายรัดข้อมือเพื่อป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียนใน ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด.วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2557;32(2):107-14.

28. ศุภกร หวานกระโทก, ขนิตฐา หาญประสิทธิ์คำ, บัวหลวง สำแดงฤทธิ์. แบบแผนอาการเหนื่อยล้า การจัดการและผลลัพธ์ของการจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับรังสีรักษาร่วมกับเคมีบำบัด. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2557;32(1):50-58.

29. จิณพิชญ์ชา มะมม. ผลของโปรแกรมการเดินออกกำลังกายที่บ้านต่ออาการเหนื่อยล้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิต]. สาขาวิชาการเจริญพันและวางแผนประชากร, คณะวิทยาศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย; นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2549.

30. กนกพร วิสุทธิกุล. การจัดการทางการพยาบาลสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ประสบภาวะเบื่ออาหาร. วารสารพยาบาลศาสตร์ 2554;29(3):8-16.

31. ชุติมา ฉันทมิตรโอภาส, พิชญาภาพิชยะ, ลาวัลย์รักษนาเวศ, อาภรณ์ ดีนาน. ประสบการณ์อาการ และวิธีการจัดการกับอาการของผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด ในศูนย์มะเร็งจังหวัดชลบุรี. วารสารโรคมะเร็ง 2555;32:45-59.

32. Laviano A, Meguid MM, Rossi-Fanelli F. Cancer anorexia: clinical implications, pathogenesis, and therapeutic strategies. Lancet Onco 2003;4(11):686-94.

33. Piper BF, Lindsey AM, Dodd MJ. Fatigue mechanisms in cancer patients: developing nursing theory. OncolNurs Forum 1987;14(6):17-23.

34. Finegan WC, McGurk A. Breathlessness. In: Finegan WC, McGurk A., eds. Care of the cancer patient a quick reference guide. 1st.ed.. New York: CRC Press; 2007:103-37.

35. Taylor J. The non pharmacological management of breathlessness. End of Life Care 2007;1(1):20-27.

36. ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ. การพยาบาลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. ใน: ปราณี ทู้ไพเราะ , บรรณาธิการ. การพยาบาลอายุรศาสตร์ 2 . กรุงเทพฯ: เอ็นพิเพรส; 2554: 17-43.

37. Camp-Sorrell D, Hawkins R. Constipation and diarrhea. In: B.M. Nevidjon BM, Sowers KW., eds A nurse’s guide to cancer care. Philadelphia: Lippincott; 2000: 334-43.

38. Sykes NP. Constipation during active cancer therapy: Diagnosis and management. In MP Davis, PCH.Feyer& POC Zimmermann, eds. Supportive oncology. Philadelphia: Elsevier; 2011: 177-84.

39. Bookbinder M, McHugh ME. Symptom management in palliative care and end of life care. Nurs Clin North Am 2010;45(3):271-327.

40. ผ่องฉวี หิรัญขจรพันธ์. คู่มือการดูแลผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับการฉายแสงร่วมกับยาเคมี. สงขลา: คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2554.

41. Ratanatharathorn V, Sirilerttrakul S, Jirajarus M, Silpakit C, Maneechavakajorn J, Sailamai P, et al. Quality of life, Functional Assessment of Cancer Therapy-General.J Med Assoc Thai 2001;84(10):1430-1442.