การจัดการอาการเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้บาดเจ็บสมอง

Main Article Content

ปิยะพร พรหมแก้ว
ดาลิมา สำแดงสาร
วรรณรัตน์ จงเขตกิจ
นิสากร จันทวี

บทคัดย่อ

     บทความวิชาการฉบับนี้เขียนจากการทบทวนวรรณกรรมและประสบการณ์การทำงานของผู้เขียนซึ่งกล่าวถึง การจัดการอาการเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้บาดเจ็บสมอง จัดการอาการเหนื่อยล้าที่หลากหลายตามบริบทของแต่ละสังคมและวัฒนธรรม การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับวิธีการจัดการอาการเหนื่อยล้า ญาติผู้ดูแลผู้บาดเจ็บสมอง พบว่า ญาติผู้ดูแลมีวิธีการจัดการอาการเหนื่อยล้าด้วยตนเองทั้งแบบใช้ยาและไม่ใช้ยาผสมผสานกัน สำหรับวิธีการจัดการอาการเหนื่อยล้าที่ใช้มากที่สุดๆ ได้แก่ การพักผ่อนนอนหลับ การเปลี่ยนอิริยาบถและการออกกำลังกาย การทำกิจกรรมผ่อนคลาย การทำจิตใจให้สงบ เป็นต้น ไม่ว่าจะเลือกจัดการอาการเหนื่อยล้าด้วยวิธีใดนั้นส่งผลเพื่อให้บรรเทาอาการเหนื่อยล้าที่เกิดขึ้นนั้นลดลง แสดงให้เห็นว่าเจ้าหน้าที่สุขภาพควรให้ข้อมูลแก่ญาติผู้ดูแลผู้บาดเจ็บสมองเกี่ยวกับการรับรู้และการจัดการปัญหาสุขภาพกายและพฤติกรรมของผู้ป่วยภายหลังบาดเจ็บสมอง เพื่อบรรเทาความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลและแนะนำการจัดการอาการเหนื่อยล้าด้วยวิธีการไม่ใช้ยาที่เหมาะสมของญาติผู้ดูแลขณะให้การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บสมองระยะยาว
คำสำคัญ: อาการเหนื่อยล้า ญาติผู้ดูแล บาดเจ็บสมอง

Article Details

บท
บทความฟื้นฟูวิชาการ

References

1. Tabish SA, Syed N. Recent advances and future trends in traumatic brain injury. Emerg Med (Los Angel)  2014;4(6):1-21.

2. Dawodu ST., Talavera F., Salcido R, Kishner S., Yadav RR. Traumatic brain injury – Definition and pathophysiology. [Internet]. [cited 2017 Oct. 28]. Available from :URL: https://emedicine.medscape.com/article/326510-overview

3. สำนักงานโรคไม่ติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข. จำนวนและอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทาง ถนนต่อประชากรแสนคน ปี พ.ศ. 2556-2558. [อินเตอร์เน็ท]. [สืบค้น 28 ต.ค. 2560]. เข้าถึงได้จาก: URL: https://www.thaincd.com/2016/mission/documents.php?tid=32&gid=1020&sear chText=&pn=2

4. Maas AI, Stocchetti N, BullockR. Moderate and severe traumatic brain injury in adults. Lancet Neurol 2008;7(8):728-41.

5. Deeken JF, Taylor KL, Mangan P, Yabroff KR, Ingham JM. Care for the caregivers: a review of self-report instruments developed to measure the burden, needs, and quality of life of informal caregivers. J Pain Symptom Manage 2003;26(4):922-53.

6. ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย. บาดเจ็บศีรษะ. [อินเตอร์เน็ท]. [สืบค้น 2 เม.ย.2552]. เข้าถึงได้จาก: URL: https://www.rcst.or.th/view.php?group=8&id=208

7. Andruszkow H, Deniz E, Urner J, Probst C, Grün O, Lohse R, et al. Physical and psychological long-term outcome after traumatic brain injury in children and adult patients. Health Qual Life Outcomes 2014;12:26.

8. กรรณิกา รักยิ่งเจริญ. การปรับตัวของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี 2557;25(1):90-7.

9. วารุณี มีเจริญ. ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็ง: การปรับตัวต่อบทบาทหน้าที่และการส่งเสริมคุณภาพชีวิต. วารสารพยาบาลรามาธิบดี 2557;20(1):10-22.

10. นภาพร มาศสุข, ศุภร วงศ์วทัญญู, ขนิตฐา หาญประสิทธิ์คำ. ประสิทธิผลของการมีส่วนร่วมของญาติผู้แลในโปรแกรมกระตุ้นประสาทรับความรู้สึกต่อการฟื้นสภาพและภาวะแทรกซ้อนจากการนอนนานนานของผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมอง และความพึงพอใจของญาติผู้ดูแล. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัย ระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 12 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่ 12-13 กุมภาพันธ์ 2552. ขอนแก่น : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2552:736-47.

11. บุปผา ลาภทวี. ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้บาดเจ็บศีรษะปานกลาง ถึงรุนแรงที่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ.ปทุมธานี: งานการพยาบาลผู้ป่วยศัลยกรรมอุบัติเหตุและฉุกเฉิน 1 โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ; 2556.

12. Finnanger TG, Olsen A, Skandsen T, Lydersen S, Vik A, Evensen KA, et al. Life after Adolescent and Adult Moderate and Severe Traumatic Brain Injury: Self-Reported Executive, Emotional, and Behavioural Function 2-5 Years after Injury. Behav Neurol 2015;2015:329241.

13. Twamley EW, Jak AJ, Delis DC, Bondi MW, Lohr JB. Cognitive Symptom Management and Rehabilitation Therapy (CogSMART) for veterans with traumatic brain injury: pilot randomized controlled trial. J Rehabil Res Dev 2014;51(1):59-70.

14. สมทรง บุตรชีวัน. ความสัมพันธ์ระหว่างการมีเงื่อนไข การเปลี่ยนผ่านกับการสูญเสีย สมรรถภาพในผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่, คณะพยาบาลศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย; กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหิดล; 2550.

15. อุษณีย์ เหมแหวน. ความเหนื่อยล้าและปัจจัยทำนายความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่, คณะพยาบาลศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย; กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหิดล; 2551.

16. Pawl JD, Lee SY, Clark PC, Sherwood PR. Sleep loss and its effects on health of family caregivers of individuals with primary malignant brain tumors. Res Nurs Health 2013;36(4):386-99.

17. Chronister J, Chan F, Sasson-Gelman EJ, Chiu CY. The association of stress-coping variables to quality of life among caregivers of individuals with traumatic brain injury. Neuro Rehabilitation  2010;27(1):49-62.

18. วลัยนารี พรมลา. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการดูแลของสมาชิกในครอบครัวผู้บาดเจ็บศีรษะ. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่, คณะพยาบาลศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย; ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา; 2553.

19. เฟื่องฟ้า สีสวย. คุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมองโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่, คณะพยาบาลศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย; กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหิดล; 2550.

20. เพ็ญประภา เทียบคุณ. ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการใช้น้ามันหอม ระเหยต่ออาการเหนื่อยล้าในผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ, คณะพยาบาลศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย; ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา; 2558.

21. Piper BF. Fatigue. In: Carrieri-Kohlman V, Lindsey  AM, West CMeds. Pathophysiological phenomena in nursing : Human Responses to Illness. 3rd.ed. Philadelphia : Saunders; 2003:273-302.

22. วัชรวรรณ จันทร์อินทร์. ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการบริหารกาย - จิตแบบซี่กงต่อความเหนื่อยล้าของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัด. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. สาขาพยาบาลศาสตร์, คณะพยาบาลศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย; กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2548.

23. Dodd M, Janson S, Facione N, Faucett J, Froelicher ES, Humphreys J, et al. Advancing the science of symptom management. J Adv Nurs 2001;33(5):668-76.

24. มยุรี พางาม. อาการเหนื่อยล้าของสตรีในระยะคลอดและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. สาขาการผดุงครรภ์ขั้นสูง, คณะพยาบาลศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย; เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2555.

25. วริศา วรวงศ์. อาการเหนื่อยล้าในสตรีที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. สาขาการผดุงครรภ์ขั้นสูง, คณะพยาบาลศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย; เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2555.

26. ปรารถนา ฉั่วตระกูล. อาการเหนื่อยล้าในผู้ป่วยสูงอายุโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ และทวารหนักที่ได้รับยาเคมีบำบัดและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. สาขาการพยาบาลผู้สูงอายุ, คณะพยาบาลศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย; เชียงใหม่:มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2555.

27. ชลธิชา แย้มมา, พีรพนธ์ ลือบุญธวัชชัย. ปัญหาการนอนหลับ ความเหนื่อยล้า และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย; 2558(2):183-96.

28. ศุภกร หวานกระโทก, ขนิตฐา หาญประสิทธิ์คำ,  บัวหลวง สำแดงฤทธิ์. แบบแผนอาการเหนื่อยล้า การจัดการและผลลัพธ์ของการจัดการอาการ ในผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับรังสีรักษาร่วมกับเคมีบำบัด. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2557;32(1):50-8.

29. Patterson E, Wan YW, Sidani S. Non pharmacological nursing interventions for the management of patient fatigue: a literature review. J Clin Nurs 2013;22(19-20):2668-78.

30. อรุณี ชุนหบดี, ธิดารัตน์ สุภานันท์, โรชินี อุปรา, สุนทรีภรณ์ ทองไสย. ความเครียดและความต้องการของ ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่บ้าน. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี 2558;24(1):1-7.