บทความวิชาการ ผลิตพยาบาลอย่างไรให้ตอบโจทย์ผู้ใช้บัณฑิตในศตวรรษที่ 21 : ความท้าทายของอาจารย์พยาบาลไทย

ผู้แต่ง

  • อุมาสวรรค์ ชูหา
  • พัชรา สมชื่อ
  • สุภาวดี นาคสุขุม
  • ปุณรดา พวงสมัย
  • รุ่งนภา ประยูรศิริศักดิ์
  • จริยา มงคลสวัสดิ์

บทคัดย่อ

การก้าวข้ามโลกปฏิวัติอุตสาหกรรมไปสู่โลกดิจิตอลเกิดการเปลี่ยนแปลงในทุกๆมิติอย่างรวดเร็ว ความต้องการของตลาดแรงงานเปลี่ยนไป งานที่ทำซ้ำๆหรืองาน routine work คอมพิวเตอร์สามารถทำแทนมนุษย์ได้หรือบางงาน และทำได้ดีกว่ามนุษย์เสียอีก    ตลาดแรงงานจึงต้องการผู้ที่มีทักษะและสมรรถนะระดับสูง มีความสามารถเฉพาะทางมากขึ้น การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันเพื่อให้ได้บัณฑิตที่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานและมีศักยภาพในการแข่งขันสูงนั้น จึงเป็นความท้าทายอย่างยิ่ง วิชาชีพพยาบาลเป็นอีกหนึ่งอาชีพที่ผู้ประกอบการต้องการบัณฑิตที่พร้อมใช้งานและมีทักษะในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบัน จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนหลากหลายรูปแบบ เพื่อให้ได้มาซึ่งบัณฑิตที่พร้อมใช้งานหรือบัณฑิตเบ็ดเสร็จ เป็นบัณฑิต 4.0 “ดี เก่ง และมีสุข”เป็นคนที่มีศักยภาพสูงและมีทักษะชีวิตเพื่อการประกอบอาชีพ มีความคิดเชิงวิพากย์ รู้จักแก้ไขปัญหา มีความคิดสร้างสรรค์รู้จักคิดค้นนวตกรรม รู้จักสื่อสารและมีทักษะในการทำงานร่วมกัน ซึ่งเป็นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21  

คำสำคัญ : พยาบาล ผู้ใช้บัณฑิต ศตวรรษที่ 21 อาจารย์พยาบาล

References

คณะกรรมาธิการการศึกษาและการกีฬา สภานิติบัญญัติแห่งชาติ. การปฏิรูปอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา;2561: 9-18.

ราชกิจจานุเบกษา. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561. ค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2561, จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/ DATA/PDF/2561/E/199/T19.PDF

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579).กรุงเทพฯ: พริกหวาน กราฟฟิค จำกัด, 2560: 93 – 131.

ราชกิจจานุเบกษา. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561. ค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2561, จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/ DATA/PDF/2561/E/199/T19.PDF

สำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ.การปฏิรูปอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2561: 1-6.

Eagle, D. The cone of learning,1969 Retrieved March 24, 2019,from https://gove.org/hierarchy-of-learning-learning-retention/

กรอบแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills). ค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2562, จาก
http://www.p21.org/our-work/p21-framework)

สำนักประสานและส่งเสริมกิจการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. โครงการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจในสถาบันอุดมศึกษา. 2561: ค้นเมื่อ 24 มีนาคม 2562, จาก http://www.mua.go.th/users/development/km/KM%20day3.pdf

กระทรวงศึกษาธิการ. มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี คณะพยาบาลศาสตร์ พ.ศ.2560, สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2562, จาก www.mua.go.th/users/tqf-hed/.../ประกาศ-ศธ-NQF-2560-พยาบาลศาสตร์- ป-ตรี.PDF

Bonwell, C. & Eison, J. Active Learning: Creating Excitement in the Classroom,1991 Retrieved March 24, 2019 from https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED336049.pdf

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. ครูในศตวรรษที่ 21. งานประชุมวิชาการ เอกสารประกอบการบรรยาย “อภิวัฒน์การเรียนรู้สู่จุดเปลี่ยนประเทศไทย” , 2557: ค้นเมื่อ 24 มีนาคม 2562, จาก http://seminar.qlf.or.th/File/DownloadFile/672

Donovan, S., Bransford, J., & Pellegrino. How People Learn: Bridging Research and Practice. Washington, DC: National Academy of Sciences.1999.

Newmann, F. & Wehlage, G. Five standards of authentic instruction. Educational Leadership,1993: 50(7): 8-12.

Peterson, L. Authentic Learning Environments,2007: Retrieved March 24, 2019, from http://etec.ctlt.ubc.ca/ 510wiki/Authentic_Learning_Environments.

Dostal, J. Inquiry-based instruction : concept, essence, important and contribution,2015: Retrieved March 24, 2019, fromhttps://www.researchgate.net/publication/278406129_Inquirybased_instruction_concept_essence_importance_and_contribution

วิจารณ์ พาณิชย์. วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้, 2558: 1(2): 1-14.

สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา 2558 และเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง. กรุงเทพฯ: วงศ์สว่างพับลิชชิ่ง แอนด์ พริ้นติ้ง จำกัด 2560.

สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. แนวทางการส่งเสริมคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา. 2561: ค้นเมื่อ 23 มีนาคม 2562, จาก http://www.mua.go.th/users/bhes/pdf/PSF_Book.pdf

กมลรัตน์ เทอร์เนอร์, สมพร รักความสุข, จิดาภา เรือนใจมั่น, จิตรา สุขเจริญ และธัญญมล สุริยานิมิตสุข.สภาพการจัดการเรียน การสอนที่ส่งเสริมทักษะศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข., 2559; 26(2): 128 – 141.

รุ่งนภา จันทรา และอติญาณ์ ศรเกษตริน. ทักษะการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้., 2560; 4(1): 180 – 190.

ศุภวดี แถวเพลีย และคณะ. รูปแบบการเรียนการสอนตามสภาพจริงเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านการผดุงครรภ์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา พยาบาล. Journal of Nursing Science., 2558; 33(1): 27 – 36.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-10-03