@article{บุณยฤทธิกิจ_2016, title={หลังคาใบไม้ในประเทศไทย}, volume={28}, url={https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NAJUA-Arch/article/view/44908}, abstractNote={<p style="text-align: justify;">        ในปัจจุบันการก่อสร้างอาคารบ้านเรือนนั้นเลือกใช้วัสดุและเทคโนโลยี การก่อสร้างที่เกิดจากระบบอุตสาหกรรมเข้ามาแทนที่การใช้วัสดุธรรมชาติและ เทคนิควิธีการก่อสร้างของท้องถิ่น ทำให้ภูมิปัญญาในการก่อสร้างอาคารบ้าน เรือนด้วยการพึ่งพาตนเองเริ่มเลือนหายไปจากชาวบ้าน หรือแม้แต่สถาปนิกผู้มีหน้าที่ในการออกแบบอาคารบ้านเรือน บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับหลังคาใบไม้ในประเทศไทยที่ยังคงมีการใช้งานอยู่ในปัจจุบัน แก่ชาวบ้านและสถาปนิก วิธีการเก็บข้อมูลเกิดจากการออกสำรวจภาคสนามใน ประเทศไทย และเก็บข้อมูลด้วยวิธีการถ่ายภาพ และนำมาแจกแจง วิเคราะห์ สังเคราะห์ จนสามารถสรุปได้เป็น 2 ประเด็น คือ 1) ลักษณะของใบไม้ที่ใช้เป็น วัสดุที่ใช้เป็นวัสดุมุงหลังคา และ 2) กระบวนการและเทคนิคการก่อสร้างหลังคา ผลที่ได้รับจากศึกษาเชิงสำรวจเพื่อให้องค์ความรู้ และภูมิปัญญาในการประยุกต์ใช้วัสดุในท้องถิ่นมาใช้ในการก่อสร้างที่อยู่อาศัยไม่สูญหายไปตามกาลเวลา และกลับมาได้รับความสนใจอีกครั้ง หรืออาจเกิดการต่อยอดองค์ความรู้ให้พัฒนายิ่ง ขึ้นไปในอนาคต</p><p style="text-align: justify;"> </p><p style="text-align: justify;"><strong>Leaf Roof in Thailand</strong></p><p style="text-align: justify;"><em><strong>Suphat Bunyarittikit, Associate Professor</strong></em></p><p style="text-align: justify;"><em>Faculty of Architecture </em></p><p style="text-align: justify;"><em></em><em>King Mongkut’s Institute of technology Lardkrabang</em></p><p style="text-align: justify;">        Nowadays, modern material and technology from industrialization have been used to construct certain buildings instead of natural material and local technology. For this reason the local wisdom has been forgotten and ignored. This article aims to propose leaf roof knowledge in Thailand from the past to present. The method to collect data is a survey. The empirical evidence of using leaf roof was recorded by photo taken. They were categorized into several groups according to two important issues. One is types of leaf that can be used for roofing. The other is the local technology to build the leaf roof. The findings will draw attention to use the local materials and technology in order to build the habitats.</p>}, journal={NAJUA: Architecture, Design and Built Environment}, author={บุณยฤทธิกิจ สุพัฒน์}, year={2016}, month={Jan.}, pages={283} }