ศักยภาพของนิสิตสาขาการตลาดที่ออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา

ผู้แต่ง

  • ธนภณ นิธิเชาวกุล คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา

DOI:

https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2019.46

คำสำคัญ:

ศักยภาพ, การตลาด, สหกิจศึกษา, สถานประกอบการ

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาศักยภาพของนิสิตสาขาการตลาดที่ออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา 2) ศึกษาความพร้อมของนิสิตสาขาการตลาดในการเข้าสู่ตลาดแรงงานหลังจบการศึกษา ประชากรในการวิจัย คือ หัวหน้างาน หรือพนักงานที่ปรึกษา หรือพี่เลี้ยงของนิสิตที่ได้รับมอบหมายจากทางสถานประกอบการให้เป็นผู้ดูแลนิสิตขณะปฏิบัติงานสหกิจศึกษาเป็นผู้ประเมินนิสิตสาขาการตลาด คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษาตลอดระยะเวลา 6 เดือน ในสถานประกอบการ ประกอบด้วย นิสิตชั้นปีที่ 4 รหัส 57 และรหัส 58 จำนวน 199 คน และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

                ผลการศึกษาวิจัย พบว่า นิสิตที่ออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษาสาขาการตลาด ตลอดระยะเวลา 6 เดือน มีศักยภาพในปฏิบัติงานดีขึ้นตามลำดับซึ่งในภาพรวมของการออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษาสาขาการตลาด พบว่า นิสิตมีศักยภาพในปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนในรายด้านนั้น ด้านศักยภาพของบุคคลเป็นเรื่องที่นิสิตต้องพัฒนา และจากการประเมินความพร้อมของในการเข้าสู่ตลาดแรงงานของนิสิตหลังจบการศึกษา พบว่า นิสิตสาขาการตลาดมีความพร้อมของในการเข้าสู่ตลาดแรงงานหลังจบการศึกษาภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด อย่างไรก็ตาม จากผลการศึกษานิสิตอาจต้องใช้เวลาในการรับตัวเข้ากับสถานประกอบการ รวมถึงการได้รับโอกาสการทำงานที่มีความท้าทายความสามารถในระดับหนึ่ง ส่วนทางสาขาการตลาดควรกระตุ้นให้นิสิตเกิดการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และการตัดสินใจ รวมถึงการประยุกต์ใช้และบูรณาการความรู้และประสบการณ์ รวมถึงเครือข่ายที่ได้จากการปฏิบัติงานสหกิจศึกษามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อนิสิตในการทำงานและผู้ประกอบการภายหลังจากการศึกษา

References

Aaker, David A., Kumar, V., & Day, G. S. (2007). Marketing research (9thed.). New Jersey : John Wiley & Sons, Hoboken.

Asavapromthada, T., Jantiva P., & Cheevapruk, S. (2009). Study of the Required Competencies of Coopera tive Education Students Desired by Entrepreneurs. The Journal of Industrial Technology, 5(2), 97-107. (In thai)

Benjarattananon, A. (2017). Satisfaction of the Establishments for the English Major Trainee Students, Faculty of Humanities and Social Sciences, Prince of Songkla University. Academic Services Journal: Prince of Songkla University, 28(2), 184-194. (In Thai)

Choteklang, A. (2008). Quality of graduate student at Bacherlor's degree, Concentration Marketing at apprentice area of Department Desirability Management. Young researcher development project Office of Academic Resource and Information Technology Center. Ratchaburi : Village of Chom Bueng Rajabhat University. (In thai)

Eames, C., & Richard, C. K. (2010). Cooperative Education: Integrating Classroom and Workplace Learning. In Billett S. (eds) Learning Through Practice. Professional and Practice-based Learning, 1, 180-196.

Kerdruang, A., Chantasorn, W., Kerdwichai, R., & SasitornSaowapa, N. (2014). FACTORS AFFECTING THE CAPABILITY OF CREATIVE THINKING IN THAI STUDENTS A CASE STUDY: STUDENTS IN HIGHER EDUCATION INSTITUTIONS IN BANGKOK METROPOLITAN AREA. Sri Pathum Journal The humanities and social sciences, 14(1), 48-59. (In Thai)

Luekitinan, W., Nontasak, P., & Saosaweang, P. (2015). The Impact of Cooperative Education on Period to Get Job and Started Income of New Graduates, Burapha University. Suranaree J. Soc. Sci., 9(2), 105-121. (In Thai)

Makhasiranon, W. (2010). Development of learning organization (7th ed.). Bangkok : Excursion. (In Thai)

Mitpang, T., & Dononbao, J. (2013). Feasibility Study of Cooperative Education in Faculty of Fine Arts and Architecture Rajamangala University of Technology Lanna, Payap Region, Chiang Mai. Research Report. Chiang Mai : Rajamangala University of Technology Lanna, Payap Region, Chiang Mai. (In Thai)

Office of the Higher Education Commission. (2009). National Qualifications Framework for Higher Education. Retrieved January 26, 2019, from http://qa.siam.edu/images/form 2557/tqf.pdf (In Thai)

Office of the National Economic and Social Development Board. (2018). National Strategy 2018-2037. Retrieved December 3, 2018, from file:///C:/Users/ro_ta/Desktop/NS_SumPlan Oct2018.pdf (In thai)

Phongwichai, S. (2009). Statistical data analysis by computer Focus for research. Bangkok : The Publisher of Chulalongkorn University. (In Thai)

Radiant, S. (2002). Qualifications of graduates Diploma in Advanced Chemistry (High Vocational Certificate) in the category of business administration as required by establishments in Prachinburi. Bangkok : King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang. (In Thai)

Rerksompoch, P. (2010) Satisfaction of employers towards graduates Kasetsart University. Bangkok : Planning Division, Office of the President Kasetsart University. (In Thai)

Suwannawe, C. (2002). Higher education in Thailand. Bangkok : Chulalongkorn University. (In Thai)

Watthanasin, S., & Pusamlee, Y. (2011). The Development of Undergraduate Marketing Students to Serve the Needs of Companies that Participate in the Cooperation Education Program. Research report. Nonthaburi: Faculty of Business Administration Dhurakij Pundit University (In Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-04

How to Cite

นิธิเชาวกุล ธ. (2019). ศักยภาพของนิสิตสาขาการตลาดที่ออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 13(3), 70–80. https://doi.org/10.14456/nrru-rdi.2019.46