ผลของการฝึกฝนทางคลินิกในการใช้ระบบการจำแนกข้อวินิจฉัย ผลลัพธ์ และการปฏิบัติการพยาบาลต่อคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล

ผู้แต่ง

  • รัชฎาพร สุวรรณรัตน์
  • พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์
  • ณัฐนิชา เหลืองอ่อน
  • สุชาดา สมบูรณ์

คำสำคัญ:

การฝึกฝนทางคลินิก, ระบบการจำแนกผลลัพธ์, การปฏิบัติและการวินิจฉัยการพยาบาล, การบันทึกทางการพยาบาล

บทคัดย่อ

  การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับและเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลก่อนและหลังการใช้การฝึกฝนทางคลินิกในการใช้ระบบการจำแนกข้อวินิจฉัย ผลลัพธ์และการปฏิบัติการพยาบาล โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือแฟ้มผู้ป่วยจำนวน 300 แฟ้ม ที่เขียนโดยพยาบาลวิชาชีพจำนวน 53 คน ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี ที่ได้รับการฝึกฝนทางคลินิก จากผู้เชียวชาญ เป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในเวรเช้า ที่ได้รับการทบทวนการใช้กระบวนการพยาบาลที่ให้ข้อมูลย้อนกลับ โดยใช้แบบตรวจสอบคุณภาพการบันทึกที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากแนวคิดการจำแนกข้อวินิจฉัย ผลลัพธ์และการปฏิบัติการพยาบาลตามระบบสากล มี ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา.89   ผลการวิจัยจากค่าคะแนนที่พบว่าหลังการทดลองคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งโดยรวมและในทุกขั้นของกระบวนการพยาบาล ส่วนระดับคะแนนเฉลี่ยคุณภาพการบันทึกก่อนการทดลองในคะแนนรวมและทุกขั้นตอนของกระบวนการพยาบาลอยู่ในระดับต่ำมากเป็นส่วนใหญ่ และหลังทดลองสูงขึ้นเป็นระดับต่ำและปานกลาง ผลการวิจัยครั้งนี้  พยาบาลต้องได้รับการฝึกฝนทางคลินิกเพิ่มมากขึ้นพร้อมกับการนิเทศทางคลินิกจากหัวหน้าหอผู้ป่วยต้องเข้มข้นขึ้นในเรื่องการ กำหนดข้อผลลัพธ์ ทางการพยาบาล เพื่อยกระดับคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลที่แสดงการใช้กระบวนการพยาบาลที่สมบูรณ์ด้วยระบบ ที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล

References

Reference
Chai Wichit Chianchana (2017). Statistics for research: concepts and applications, Bangkok:
Chulalongkorn University Publishing House.
Chitty, Kittrell & Black, Perry (2011). Professional Nursing : Concepts and Chellemges.
Missouri:Saunders, p.94. pp.100-108.
Fischetti, N.(2008). Using stanradized nursing language: a case study exemplar in
management of diabetes mellitus. International Journal of Nursing Terminologies & Classification. 19(4) 103-166.
Freshwater, Dawn, Beverly, J.Taylor, & Sherwood, Gwen.(2008). International Textbook of
Reflective Practice in Nursing. Oxford, UK: Blackwell Publishing, pp. 1-15.
Griffith, Richard & Tengnath, Cassarn.(2009). Law and Professional Issues in Nursing. Cornwall-
Great Britian : Learning Matters Ltd., pp. 32-37.
Herdman, T.H. & Kamitsuru, S. (Eds.).(2018). NANDA International nursing diagnoses :
Definition and Classification, 2018-2020 (11th ed.) New York, NY: Thieme.
Jonhson, Marion; Moorhood, Sue; Bluecheck, Gloria; Butcher, Howard; Mass, Meridean; &
Swanson, Elizabeth (2012). NOC and NIC Linkages to NANDA-I and Clinical Conditions : Supporting Critical Reasoning and Quality Care, 3rdEd., Marryland : Mosby.
Kwang Wuthanan (2017). Coaching: Coaching strategies to conquer professional goals,
(Translated from Coaching for Performance, written by John Whitemore), Nonthaburi: Image Print Partnership.
Kuiper.R., Pesut,D.J., & Arms, T.E. (2016). Clinical reasoning and case coordination in advance
practice nursing. New York: Springer, pp.56-63.
McSherry,R, Pearce, P. (2007). Clinical Governance. A Guide to Implementation for Health
care Professionals, 2nd edn. Blackwell Publishing: Oxford.
Moorhead, S., Swanson, E., Johnson,M., Mass, M. (Eds.). (2018). Nursing Outcome
Classification (NOC): Measurement of health outcomes. (6th ed.). St Louis: MO:Elservier.
Muller-Staub,M.; Needham,O.; Odenbriet, M.; Levn, M.A. & Van achterberg, T.,(2007). Improve
quality of nursing documentation: Results of nursing diagnoses, interventions and outcomes, interventions and outcome implementations study. International Journal of Nursing Terminologies and Classifications. 18(1), pp.5-17.
Muller-Staub,M.(2009). Evaluation of the implementation of nursing diagnoses, interventions,
and outcomes. International of Nursing Terminologies and Classificagtions. 20(1), 9-15.
Pesut, R.M. & Herman.(1999). The art and science of critical and creative thinking. NY:
Delmar.
Seaback, Wanda.(2006). Nursing Process: Concepts & Application. (2nd. Ed.), New York:
Thomson-Delmar Learning.
Thomson, Carl & Dowding, Dawn (2009). Essential Decision Making and Clinical Judgment for
Nurses. New York: Churchill Livingstone, pp. 1-5.
Zerwekh, JoAnn & Cloborn, Jo Carol (2009). Nursing Today : Transition and Trends, 6th ed.
Saint Louis: Saunders.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

27-12-2019