การพัฒนากรอบแนวคิดบทบาทครูในการส่งเสริมพฤติกรรมความปลอดภัยของเด็กวัยอนุบาลในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Authors

  • เปมิกา ไทยชัยภูมิ 0839667663
  • วรวรรณ เหมชะญาติ

Keywords:

Teacher ’roles, Promoting safety behaviors, Preschooler

Abstract

The purpose of this article was to develop a conceptual framework of the research titled a study of teachers’ roles in promoting safety behaviors for preschoolers in schools under official of the basic education commission.  Research procedure started with a literature review by categorizing and sorting relevant contents which consisted of teacher strategies to promote safety preschool children’s behaviors, guidelines for preventing injuries and promoting safety in children, and competencies of early childhood children in 3-5 years of age.  A conceptual framework of the teachers’ roles in promoting safety behaviors for preschoolers was developed in 3 phases: (1) safety environment consisting of preparation safety space, storage and sorting out of dangerous goods, the selection of durable products under safety standards; (2) caring and protecting consisting of caring, protecting; (3) teaching about safety consisting of being a role model, activity arrangement, and inviting scholars.

Keywords :Teacher ’roles, Promoting safety behaviors, Preschooler

References

รายการอ้างอิง
ณัชนันท์ ชีวานนท์. (2559). อุบัติเหตุในเด็ก: สถานการณ์และแนวทางการป้องกัน. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 24(3),1-12.
สืบค้นจาก https://www.tcithaijo.org/index.php/Nubuu/article/download/74896/60415
ทิศนา แขมมณี. (2558). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่19). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธนัตถ์ศรณ์ รัตนมีแสงนิล. (2558). ผลของการจัดประสบการณ์โดยใช้สถานการณ์จำลองที่มีต่อความเข้าใจเรื่องความปลอดภัยในห้องเรียนของเด็กอนุบาล (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
นชนก เสริมบุญครอง. (2550). สวัสดิภาพของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนเครืออัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพมหานคร.
ประวัตร์ จันเทพา. (2554). สภาพแวดล้อมและความปลอดภัยของสนามเด็กเล่นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและโรงเรียนประถมศึกษาอำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.
พัชรา พานทองรักษ์. (2560). ผลของการจัดกิจกรรมโดยใช้เทคนิคละครที่มีต่อพฤติกรรมความปลอดภัยของเด็กอายุ4 ปี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
พัชรินทร์ ลิ้มสุปรียารัตน์. (2546). สภาพและปัญหาการจัดสนามเด็กเล่นในโรงเรียนอนุบาล กรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
พวงน้อย แสงแก้ว. (2553). สวัสดิศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย. ลำปาง: คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ ลำปาง
มัตติกา บุญมา, ศิวัช ลาวัลย์วดีกุล, จักรกฤษณ์ ฮั่นยะลา, วิเชษฐ ยิ้มละมัย, และ กิตตศิกัดิ์ สมุทธารกัษ์. (2560). สภาพแวดล้อมและความปลอดภัยของอุปกรณ์เครื่องเล่นสนามกลางแจ้งสาหรับเด็กก่อนวัยเรียน. วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา11(2),146.
สืบค้นจาก https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/viewFile/9652/8256
วุฒิพงศ์ แสนบุดดา. (2561). การประยุกต์รูปแบบสนามเด็กเล่นโดยใช้การเรียนรู้สมองเป็นฐานสร้างสรรค์สําหรับโรงเรียนประถมศึกษาในชนบทจังหวัดนครราชสีมา (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, นครราชสีมา.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). สมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย 3-5 ปี: แนะแนวสำหรับผู้ดูแล ครูและอาจารย์. กรุงเทพฯ: บริษัทแปลนฟอร์คิคส์.
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2559). แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บโดยสถานบริการสาธารณสุข กรุงเทพฯ: อีโมชั่น อาร์ต.
อมรรัตน์ บุตรน้ำเพชร. (2557). การเปรียบเทียบการคิดแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์แบบจิตปัญญากับการจัดประสบการณ์ตามปกติ. วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 9(28) 5-10.สืบค้นจาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/researchjournal-lru/article/download/100648/78236/
อรศรี-จินตนา งามวิทยาพงษ์. (2535). คู่มือป้องกันอุบัติภัยให้ลูกรัก. กรุงเทพฯ: รักลูก.
อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์. (2550). การจัดการความปลอดภัยสำหรับเด็กอายุ 6-10 ปี. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. สืบค้นจาก https://mail.google.com/mail/u/0/#sent/
QgrcJHshbNCdZmSCLVCZhRFWqdKKjSssdbv?projector=1
อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์. (2557). แนวทางสร้างเสริมความปลอดภัยและบาดเจ็บในเด็ก. ในพงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์ ,วินัดดา ปิยะศิลป์, วันดี นิงสานนท์, และ ประสบศรี อึ้งถาวร (บรรณาธิการ),Guideline in Child Health Supervision. (101-126). กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทยสมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย.
ภาษาต่างประเทศ
Trump, S. K. (2011). Schools-Security measures-United. The United States of America: Amy Rosenstein.
Missouri Department of Elementary and Secondary Education. (2009). Missouri Pre-K Physical Development,Health and Safety Standards. Retrieved from https://dese.mo.gov/sites/default/files/eel-el-health-safety-teacher.pdf
Robertson, C. (2013). Safety, Nutrition, and Health in Early Education. 4ed. the United States of America :Hrather mcelwain.

Downloads

Published

2019-09-03

How to Cite

ไทยชัยภูมิ เ., & เหมชะญาติ ว. (2019). การพัฒนากรอบแนวคิดบทบาทครูในการส่งเสริมพฤติกรรมความปลอดภัยของเด็กวัยอนุบาลในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. An Online Journal of Education, 14(2), OJED1402009 (11 pages). Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/184385