สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของครูโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงเสนี) ตามแนวคิดการตอบสนองต่อการช่วยเหลือ

Authors

  • ลลิตา ทิพย์ประชาบาล
  • เพ็ญวรา ชูประวัติ

Keywords:

สภาพปัจจุบัน, สภาพที่พึงประสงค์, การตอบสนองต่อการช่วยเหลือ

Abstract

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของครูโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ตามแนวคิดการตอบสนองต่อการช่วยเหลือ เกี่ยวกับการพัฒนาครูและการตอบสนองต่อการช่วยเหลือ ประชากรในการวิจัยมีจำนวน 225 คน มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 142 คน โดยใช้สูตรการคำนวณของเครจซี่และมอร์แกน ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการ และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของครูโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ตามแนวคิดการตอบสนองต่อการช่วยเหลือ ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือด้วยการหาความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน มีข้อคำถาม 25 ข้อ ได้คะแนนเฉลี่ย 0.787 และค่าความเชื่อมั่นของครอนบาค ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.960 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

สภาพปัจจุบันของครูโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ตามแนวคิดการตอบสนองต่อการช่วยเหลือ พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (M = 3.468) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความรู้จำเป็นเกี่ยวกับเนื้อหาบทเรียนตามระบบการตอบสนองต่อการช่วยเหลือมีค่าเฉลี่ยสูงสุด (M = 3.684) ด้านความรู้ ความเข้าใจระบบการตอบสนองต่อการช่วยเหลือมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (M = 3.348) สภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมาก (M = 4.374)  โดยผู้บริหารและครูโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ได้ให้ความสำคัญกับด้านความรู้จำเป็นเกี่ยวกับเนื้อหาบทเรียนตามระบบการตอบสนองต่อการช่วยเหลือมากที่สุด (M = 4.488) ด้านความรู้ ความเข้าใจระบบการตอบสนองต่อการช่วยเหลือต่ำที่สุด (M = 4.284)

References

จุฬามาศ จันทร์ศรีสุคต. (2560). การจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้. เอกสาร
ประกอบการสอนวิชาการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้. คณะครุศาสตร์,
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

ชนิศา ตันติเฉลิม. (2560). การตอบสนองต่อการช่วยเหลือ: หลักการ องค์ประกอบสำคัญ และข้อเสนอ
แนะ เชิงปฏิบัติสำหรับส่งเสริมการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมในประเทศไทย. วารสารวิธีวิทยาการ
วิจัย, ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2560), 187-227.

ณัชพร ศุภสมุทร์และคณะ. (2557). การพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้โครงสร้างซีทสำหรับ
เด็กที่มีความต้องการพิเศษในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2543). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุบลราชธานี : สถาบันราชภัฎ
อุบลราชธานี. สืบค้นจาก https://rajanukul.go.th/main/_admin/images/downloadlist/
D0000151.pdf.

บุษบา เนกขำ. (2559). ปัจจัยการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนนในโรงเรียนโยธินบูรณะ.
วารสาร SDU Res. J. 12 (1): มกราคม-เมษายน, (41-56).

ประสิทธิ์ สระทอง. (2561). ครูมืออาชีพสู่การเรียนรู้แบบมืออาชีพ. Veridian E-Journal, มหาวิทยาลัย
ศิลปากร. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1: มกราคม-เมษายน, (2486-2499).

วาสนา มะณีเรือง และคณะ. (2559). รูปแบบการพัฒนาครูเก่งครูดีของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารสันติ
ศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ 30 ฉบับที่ 2, (260-278).

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.). (2557). แนวทางการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบการเรียน
รวม (Inclusive Schools). กรุงเทพฯ: สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.). (2560). ประกาศรายชื่อโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง
ในระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2560. กรุงเทพฯ.

อัญชลี สารรัตนะ. (2557). การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนด้วยรูปแบบการตอบสนองต่อ
การช่วยเหลือ (Response to intervention). วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา คณะ
ศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (1-9).

ประสิทธิ์ สระทอง. (2561). ครูมืออาชีพสู่การเรียนรู้แบบมืออาชีพ. Veridian E-Journal, มหาวิทยาลัย
ศิลปากร. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1: มกราคม-เมษายน, (2486-2499).

วาสนา มะณีเรือง และคณะ. (2559). รูปแบบการพัฒนาครูเก่งครูดีของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารสันติ
ศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ 30 ฉบับที่ 2, (260-278).

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.). (2557). แนวทางการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบการเรียน
รวม (Inclusive Schools). กรุงเทพฯ: สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.). (2560). ประกาศรายชื่อโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง
ในระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2560. กรุงเทพฯ.

อัญชลี สารรัตนะ. (2557). การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนด้วยรูปแบบการตอบสนองต่อ
การช่วยเหลือ (Response to intervention). วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา คณะ
ศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (1-9).

ประสิทธิ์ สระทอง. (2561). ครูมืออาชีพสู่การเรียนรู้แบบมืออาชีพ. Veridian E-Journal, มหาวิทยาลัย
ศิลปากร. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1: มกราคม-เมษายน, (2486-2499).

วาสนา มะณีเรือง และคณะ. (2559). รูปแบบการพัฒนาครูเก่งครูดีของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารสันติ
ศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ 30 ฉบับที่ 2, (260-278).

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.). (2557). แนวทางการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบการเรียน
รวม (Inclusive Schools). กรุงเทพฯ: สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.). (2560). ประกาศรายชื่อโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง
ในระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2560. กรุงเทพฯ.

อัญชลี สารรัตนะ. (2557). การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนด้วยรูปแบบการตอบสนองต่อ
การช่วยเหลือ (Response to intervention). วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา คณะ
ศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (1-9).

ประสิทธิ์ สระทอง. (2561). ครูมืออาชีพสู่การเรียนรู้แบบมืออาชีพ. Veridian E-Journal, มหาวิทยาลัย
ศิลปากร. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1: มกราคม-เมษายน, (2486-2499).

วาสนา มะณีเรือง และคณะ. (2559). รูปแบบการพัฒนาครูเก่งครูดีของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารสันติ
ศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ 30 ฉบับที่ 2, (260-278).

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.). (2557). แนวทางการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบการเรียน
รวม (Inclusive Schools). กรุงเทพฯ: สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.). (2560). ประกาศรายชื่อโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง
ในระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2560. กรุงเทพฯ.

อัญชลี สารรัตนะ. (2557). การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนด้วยรูปแบบการตอบสนองต่อ
การช่วยเหลือ (Response to intervention). วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา คณะ
ศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (1-9).

ประสิทธิ์ สระทอง. (2561). ครูมืออาชีพสู่การเรียนรู้แบบมืออาชีพ. Veridian E-Journal, มหาวิทยาลัย
ศิลปากร. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1: มกราคม-เมษายน, (2486-2499).

วาสนา มะณีเรือง และคณะ. (2559). รูปแบบการพัฒนาครูเก่งครูดีของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารสันติ
ศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ 30 ฉบับที่ 2, (260-278).

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.). (2557). แนวทางการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบการเรียน
รวม (Inclusive Schools). กรุงเทพฯ: สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.). (2560). ประกาศรายชื่อโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง
ในระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2560. กรุงเทพฯ.

อัญชลี สารรัตนะ. (2557). การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนด้วยรูปแบบการตอบสนองต่อ
การช่วยเหลือ (Response to intervention). วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา คณะ
ศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (1-9).

Castro-Villarreal, F., Rodriguez, B. J., & Moore, S. (2014). Teachers' perceptions and attitudes
about Response to Intervention (RTI) in their schools: A qualitative analysis. Teaching
and teacher education, 40, 104-112.

David H. Allsopp, Jennie L. Farmer & David Hoppey. (2016). Handbook of Response to
Intervention. Springer Science+Business Media New York, 143-163.

Dickman, G.E. (2006). RTI and Reading: Response to Intervention in a Nutshell. Perspectives on
Language and Literacy, Special Conference Edition. International Dyslexia Association:
Baltimore, MD.

Gerber, M. M. (2003, Decem-ber). Teachers Are Still the Test: Limitations of Response to
Instruction Strategies for Identifying Children withLearning Disabilities. Paper
presented at the National Research Center on Learning Disabilities Responsiveness-to-Intervention Symposium, Kansas City, MO.

Isbell, L. J., & Szabo, S. (2014). Understanding secondary teachers' concerns about RTI:
Purposeful professional communication. Delta Kappa Gamma Bulletin, 80(3), 11.

NJCLD. (2005). Responsiveness to Intervention and Learning Disabilities. National Joint
Committee on Learning Disabilities, [Electronics version].

Downloads

Published

2019-12-20

How to Cite

ทิพย์ประชาบาล ล., & ชูประวัติ เ. (2019). สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของครูโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงเสนี) ตามแนวคิดการตอบสนองต่อการช่วยเหลือ. An Online Journal of Education, 14(2), OJED1402037 (12 pages). Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/187179