TY - JOUR AU - สุนทราวรรณ, ธันย์ชนก AU - สุเมตติกุล, ปิยพงษ์ PY - 2017/04/26 Y2 - 2024/03/29 TI - การศึกษาการติดตามผลการอบรมหลักสูตร พี่สอนน้องเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ สายปฏิบัติการวิชาชีพบุคคล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย A FOLLOW-UP STUDY OF A MENTORING COURSE ON THE PROFESSIONAL LEARNING NETWORK OF PROFESSIONALS OPERATING LINE AT... JF - An Online Journal of Education JA - OJED VL - 11 IS - 4 SE - Research Articles DO - UR - https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/84756 SP - 389 - 401 AB - <p>การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาเนื้อหาหลักสูตรที่ส่งเสริมความรู้ ความสามารถของผู้เข้ารับการอบรม 2) เพื่อศึกษาการนำความรู้ที่ได้รับจากอบรมหลักสูตรพี่สอนน้องเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพสายปฏิบัติ วิชาชีพบุคคลไปใช้ในการปฏิบัติงานด้านบริหารงานบุคคล ผู้ให้ข้อมูลคือ เจ้าหน้าที่บุคคล จำนวน 50 คน เครื่องมือเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีข้อคำถามจำแนกตามเนื้อหาหลักสูตรอบรม 6 หัวข้อคือ <br /> 1) ด้านการบริหารงานบุคคลข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา 2) ด้านการบริหารงานบุคคลพนักงานมหาวิทยาลัย และพนักงานวิสามัญ 3) ด้านระบบสารสนเทศบุคลากร / เงินเดือน  4) ด้านสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ 5) ด้านการพัฒนาระบบงานบุคคล  6) ด้านการพัฒนาบุคลากร วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย () และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)</p><p style="text-align: justify;">             ผลการวิจัยพบว่า เนื้อหาหลักสูตรส่งเสริมความรู้ความสามารถของผู้เข้ารับการอบรมในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ย 3.31 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า เนื้อหาหลักสูตรส่งเสริมความรู้ความสามารถของผู้เข้ารับการอบรมมากที่สุด  คือ ด้านการพัฒนาบุคลากร ค่าเฉลี่ย 3.48 อยู่ในระดับปานกลาง  รองลงมาคือด้านการพัฒนาระบบงานบุคคล  ค่าเฉลี่ย 3.39 อยู่ในระดับปานกลาง  ด้านการบริหารงานบุคคลของพนักงานมหาวิทยาลัยและพนักงานวิสามัญ  ค่าเฉลี่ย 3.32 อยู่ในระดับปานกลาง และการนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.18    เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ที่ได้จากการอบรมไปใช้ในการปฏิบัติงานมากที่สุด คือ ด้านการพัฒนาบุคลากร  ค่าเฉลี่ย 3.41 อยู่ในระดับปานกลาง รองลงมาคือ ด้านการพัฒนาระบบงานบุคคล ค่าเฉลี่ย 3.28 อยู่ในระดับปานกลาง  ด้านการบริหารงานบุคคลของพนักงานมหาวิทยาลัยและพนักงานวิสามัญ ค่าเฉลี่ย 3.20 อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ</p><div><p style="text-align: justify;">This study aimed to investigate: 1) the course content that enhanced the participants’ knowledge, capability and application of knowledge gained after participating in a mentoring course on the professional learning network of a professional operation line at Chulalongkorn University. The participants comprised 50 individuals working as human resource staff. The tool was a questionnaire with a 5 level rating scale covering 6 topics based on the topics of the course: 1) management of civil servants in a tertiary institution, 2) management of university employees and extraordinary university employees, 3) personnel information technology/salary, 4) welfare and fringe benefits, 5) improvement of the human resource system, and 6) staff development.. The data were analyzed based on percentage, average and standard deviation.</p><p style="text-align: justify;">         It was found that as a whole the courses content that enhance the knowledge and capability of the staff was ranked average with the mean at 3.31.  In terms of items, the course content that enhanced the participants’ knowledge and capability most was the staff development with the mean at 3.48, followed by the improvement of the human resource system which was ranked average with the mean at 3.39 and the management of university employees and extraordinary university employees which was ranked average with the mean at 3.32. The application of knowledge was generally ranked average with the mean at 3.18. In terms of items, the staff development was ranked highest with the mean at 3.41, followed by the improvement of the human resource system which was ranked average with the mean at 3.28 and   the management of university employees and extraordinary university employees with the mean at 3.20.  </p></div> ER -