ผลของความยากของข้อสอบและความสามารถของผู้สอบที่มีต่อคลื่นไฟฟ้าสมอง : การศึกษาศักย์ไฟฟ้าสัมพันธ์กับเหตุการณ์ขณะทดสอบด้านเลขคณิต

Main Article Content

กนก พานทอง
เสรี ชัดแชม
กาญจนา พิทักษวัฒนานนท

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความสูงและความกว้างของคลื่น P300 ของผู้สอบขณะทดสอบด้นเลขคณิต จําแนกตามความยากของข้อสอบ และความสามารถของผู้สอบ และศึกษาผลปฏิสัมพันธ์รวมระหว่างความยากของข้อสอบกับความสามารถ ของผู้สอบที่มีต่อความสูงและความกว้างของคลื่น P300 ขณะทดสอบด้านเลขคณิต กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนปรีชานุศาสน์จังหวัดชลบรีได้มาโดยการรับสมัครอาสาสมัครจำนวน 30 คน จำแนกเป็นกลุ่มย่อย จานวน  3 กลุ่ม ๆละ 10 คน คือ กลุ่มเก่ กลุ่มปานกลาง และกลุ่มอ่อน เครื่องมือที่ชี้ในการวิจัย ดีแก่ กิจกรรมการทดสอบด้านเลขคณิต เครื่องตรวจ คลื่นไฟฟ้าสมอง (EEG) โดยใช้เครื่องวัดสัญญาณรุ่น EEG 100C, MP150 BIOPAC และหมวกอิเล็กโตรดที่อ้างอิงระบบมาตรฐานสากล 10-20 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง (Two-Way ANOVA) โดยใช้โปรแกรม SPSS

ผลการวิจัยหลักปรากฏว่า ความสูงและความกว้างของคลื่น P300 ของผู้สอบขณะทดสอบด้นเลขคณิต จําแนกตามความยาก ของข้อสอบ และความสามารถของผู้สอบแตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ถ้าจําแนกตามความยากของข้อสอบ ปรากฏว่า ข้อสอบยากมีความสูงของคลื่น P300 มากกว่าข้อสอบยากง่ายปานกลางและข้อสอบง่าย และข้อสอบยากง่ายปานกลางมีความสูงของคลื่น P300 มากกว่าข้อสอบงายแต่เมื่อจำแนกตามความสามารถของผู้สอบ ปรากฏว่า ผู้สอบกลุ่มอ่อนและกลุ่มปานกลางมีความสูงของคลื่น P300 มากกว่ากลุ่มเก่ง ส่วนผู้สอบกลุ่มอ่อนมีความกว้างของคลื่น P300 มากกว่ากลุ่มปานกลาง และกลุ่มเก่ง ในบริเวณจุดอิเล็กโตรด Fp1, Fp2, F3, F4, C3, P3, P4, O1, O2, F7, Fz, Cz และ Pz ที่มีความสูงและความกว้างของคลื่น P300 แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทางยังชี้ให้เห็นว่ามีผลปฏิสัมพันธ์ร่วมระหว่างความยากของข้อสอบกับ ความสามารถของผู้สอบต่อความกว้างของคลื่น P300 ที่จุดอิเล็กโตรด Fp2 และ Pz

 

Effects of Item Diffi culty and Students’ Ability on EEG: An Event-Related Potentials Study During Arithmetic Testing

Kanok Panthong, Seree Chadcham and Kanjana Pitukvattananon

Centre of Excellence in Cognitive Science College of Research Methodology and Cognitive Science, Burapha University, Thailand

The purposes of this study were to compare amplitude and latency of P300 of subjects during arithmetic testing between students’ ability and item difficulty, and interaction between students’ ability and item difficulty to amplitude and latency of P300 during arithmetic testing. Thirty voluntary grade-seven students of Preechanusas school in ChonBuri of the academic year 2011 participated in the study. Subjects were divided into high, medium, and low ability levels on the basic of total test scores, with 10 students per group. The research instruments were the Arithmetic Testing Task and EEG 100C MP150 BIOPAC, Electrode Cap 10-20 System. SPSS was used to test descriptive statistics and test the two-way Analysis of Variance (Two-Way ANOVA).

The major results showed that amplitude and latency of P300 of the subjects during arithmetic testing between students’ ability and item difficulty were significant at the .05 level. When dividing by item difficulty, found that the difficult items have higher amplitude of P300 than the moderate and easy items. The moderate items have higher amplitude of P300 than the easy items. When dividing by students’ ability, however, found that the low group and the medium group have higher amplitude of P300 than high group. The low group has higher latency of P300 than the medium and high groups. And at the Electrode Fp1, Fp2, F3, F4, C3, P3, P4, O1, O2, F7, Fz, Cz and Pz, amplitude and latency of P300 were
significant at the .05 level. A two-way analysis of variance revealed the interaction between item difficulty and ability level of latency of P300 at electrode Fp2 and Pz.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)