แรงจูงใจในการทำงานกับความผูกพันของพนักงาน บริษัทอนิลา เยม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด

Main Article Content

ขวัญลภา กุลสรัลพร
ทศพร มะหะหมัด

บทคัดย่อ

          เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน   ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือพนักงานที่ทำงานในบริษัท อนิลา เยมอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด  จำนวน 400 คน เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย การทดสอบสมมติฐานแบบ t-test และ One-way ANOVA  Pearson Product Moment Correlation และ Multiple Regression Analysis


ผลการศึกษาพบว่าแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานภาพรวมปัจจัยจูงใจและปัจจัยค้ำจุนอยู่ในระดับมาก ความผูกพันต่อองค์การอยู่ในระดับมาก อายุ ระดับการศึกษา ประเภทพนักงาน  อายุงาน  และรายได้ที่แตกต่างกันส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานแตกต่างกัน  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05  ปัจจัยแรงจูงใจมีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน ระดับความสัมพันธ์มากทิศทางเดียวกัน ปัจจัยค้ำจุนมีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานระดับความสัมพันธ์สูงมากทิศทางเดียวกัน   แรงจูงใจในเรื่องความร่วมมือของเพื่อนร่วมงาน  โอกาสใช้ความสามารถพิเศษเพื่อทำงานให้ประสบความสำเร็จ งานที่ทำตรงกับสาขาที่ท่านเรียนจบและใช้ความรู้ความสามารถได้อย่างเต็มที่  โอกาสได้รับการอบรมและพัฒนาทักษะ  การพิจารณาความดีความชอบโดยยึดหลักคุณหลักคุณธรรม  งานที่ทำมีเกียรติมีชื่อเสียงและมีโอกาสได้รับผิดชอบงานเพิ่มขึ้น  เพื่อนร่วมงานให้การยอมรับ  รับคำชมเชยจากหัวหน้างานเมื่อทำงานได้ดี  โอกาสในการเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำงาน  งานที่ทำก่อให้เกิดประสบการณ์และความชำนาญ  หัวหน้างานมีความยุติธรรมและสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงาน  ปรับเงินเดือนตามฐานอย่างเหมาะสม  ได้รับโบนัส  เงินพิเศษ  อุปกรณ์เครื่องในการทำงานครบและมีความปลอดภัย  ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานดี  การวางตัวและการให้คำปรึกษาของหัวหน้า  ความภาคภูมิใจในอาชีพ  งานที่ทำมีความมั่นคง  มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัทอนิลา เยมอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

1. กิตติพงษ์ ศิริพร. (2552). ปัจจัยแรงจูงใจที่มีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของพนักงาน : กรณีศึกษา โรงงานผลิตรถยนต์ จังหวัดสมุทรปราการ. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี

2. จุฑารัตน์ ศรีใย. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการเพิ่มผลผลิตของพนักงานธนาคารกสิกรไทยจังหวัดเชียงราย. ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

3. ชูเกียรติ ยิ้มพวง (2554). แรงจูงใจที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน:กรณีศึกษาบริษัทบางกอกกล๊าส จำกัด โรงงาน จังหวัดปทุมธานี. ปริญญามหาธุรกิจบัณฑิตวิชาเอกการจัดการวิศวกรรมธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี.

4. ทรงธรรม ธีระกุล. (2556) “การสื่อสาร: กลยุทธ์สู่ความสำเร็จขององค์กร.” บทความออนไลน์, 2556 http://www.baanjomyut.com/library_3/extension1/communication/09.htm

5. น้ำทิพย์ จันนาอนุรักษ์ (2559). แรงจูงใจที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงานของบริษัท ดีไลน์ คอนสตรัคชั่น จำกัด. ปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาการจัดการ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์.

6. นิ่มนวล ทองแสน (2557) ศึกษาเรื่องปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานกลุ่มธุรกิจผลิตเครื่องสำอางในเขตจังหวัดปทุมธานี. บริหารธุรกิจมาหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

7. บุญเลิศ จันทรโท. (2555). ปัจจัยแรงจูงใจที่มีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท สยามโตโยต้าอุตสาหกรรม จำกัด. สาขาวิชาการบริหารงานยุติธรรมและสังคม คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา.

8. บุษบงค์ ภู่กำจัด. (2549). ปัจจัยจูงใจในการทำงานของ พนักงาน บริษัท ลีโอ ฟู้ดส์ จำกัด. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

9. ปาริชาติ ปานสำเนียง. (2555). การศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงานและการรับรู้ความยุติธรรมใน องค์กรที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์กรผ่านความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน กรณีศึกษาคณะแพทย์แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

10. พนิดา อร่ามจรัส. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทํางานกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพนักงานในกลุ่มบริษัทโทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์จํากัด (มหาชน).กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

11. มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. (2555). ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิตและบริหารพัฒนาองค์กร. สืบคนจาก http://social.nesdb.go.th

12. เสกสรร อรกุล. (2557) ปัจจัยแรงจูงใจในการปฏิบัติงานที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการทำงานของพนักงานบริษัท แมทเทิลคอม จำกัด. บัณฑิตวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี.

13. สุรชัย แก้วพิกุล. (2552). คุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรวิทยาลัยพยาบาลตำรวจ. วิทยานิพนธ์และสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ สาขาการบริการและนโยบายสวัสดิการสังคม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

14. Organ, D. W., & Bateman, T. S. (1991). Organizational behavior (4th ed.). Homewood: Irwin.Clegg, S.R., Hardy, C.,& Nord, W. R. (1996). Handbook of organization studies.London: SAGE.

15. Google. (1998). Jew well, L. N. (1998). Contemporary Industrial/Organizational Psychology ( 3rd ed.). New York : Brooks/Cole

16. Podsakoff, P. M., Mackenzie, S. B., Paine, J. B., & Bacharach, D. G. (2000). Organizational citizen ship behaviors: A critical review of the theoretical and empirical Literature and suggestions: for future research. Journal of Management, 26 (3), 513-563. review. Journal of Abnormal and Social Psychology, 65(3), 145-153.

17. George, J. M., & Jones, G. R. (2002). The role of time in theory and theory building. Journal of Management, 26, 657-684.

18. Barnard, C.I. (1938). Organization and management: Selected papers. Cambridge,MA: Harvard University.