การศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการประเพณีนมัสการรอยพระพุทธบาทพลวง ปี 2560

Main Article Content

ปัญญณัฐ ศิลาลาย
ละเมียด ควรประสงค์
วิภาดา เที่ยงทางธรรม

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยเรื่อง ศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการประเพณีนมัสการรอยพระพุทธบาทพลวง ปี 2560 ได้แบ่งระยะการศึกษาเป็น 3 ช่วงคือ ช่วงระยะเวลาที่ 1 (28 มกราคม - 16 กุมภาพันธ์ 2560) ช่วงระยะเวลาที่ 2 (17 กุมภาพันธ์ -8  มีนาคม 2560) ช่วงระยะเวลาที่ 3 (9 มีนาคม - 28 มีนาคม 2560) แต่ละช่วงมีระยะเวลา 20 วัน จากกลุ่มเป้าหมาย 3 กลุ่ม คือนักท่องเที่ยว ชุมชนชนและผู้ประกอบการ พบว่า นักท่องเที่ยวเห็นว่าความสวยงามทางธรรมชาติดีกว่าปีที่แล้ว และชุมชนเห็นว่าความเพียงพอของร้านอาหาร/ ราคาเหมาะสม/ สะอาด โดยภาพรวมดีกว่าปีที่แล้ว ส่วนผู้ประกอบการเห็นว่าความเพียงพอของที่พักดีกว่าปีที่แล้ว และพบว่า ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นและความพึงพอใจการบริหารจัดการประเพณีนมัสการรอยพระพุทธบาทพลวง (คิชฌกูฏ) ปี 2560 ของนักท่องเที่ยว ชุมชนและผู้ประกอบการ (ร้านอาหาร/ ร้านค้า/ ที่พัก) พบว่า นักท่องเที่ยวเห็นว่าเรื่องประเพณีนมัสการรอยพระพุทธบาทพลวงมีความสำคัญและควรรักษาไว้ และชุมชนเห็นว่าเรื่องการเปลี่ยนรูปแบบการบริหารจัดการฯ ส่งผลกระทบต่อประเพณี วัฒนธรรมที่มีมาในอดีต ส่วนผู้ประกอบการเห็นว่าเรื่องการไม่มีจุดบริการร้านค้าบนเขาส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการฯ ในชุมชน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

1. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2550). คู่มือเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชน. สำนักพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว.
2. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2544). แผนปฏิบัติการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: กองอนุรักษ์การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
3. ชนัญ วงษ์วิภาคและคณะ. (2550). การจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.
4. ชูสิทธิ์ ชูชาติ. (2552). โครงการวิจัยรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในเขตลุ่มแม่น้ำวาง. เชียงใหม่: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยสำนักงานภาค.
5. ทิพวรรณ พุ่มมณี. (2557). การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
6. นิติพรรณ (พลวัฒนะ) วรรณศิริ (2550). มานุษยวิทยาสังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: เอ๊กสเปอเน็ท.
7. ปัญญณัฐ ศิลาลาย (2559). กลยุทธ์การจัดการปรับเปลี่ยนมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณีสู่มหาวิทยาลัยพระปกเกล้ารำไพพรรณี. หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
8. ปัญญณัฐ ศิลาลาย(2555). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาธูปฤาษีเป็นยากันยุงเพื่อส่งเสริมธุรกิจชุมชน. สถาบันวิจัยและพัฒนา. มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
9. พจนา สวนศรี และสมภพ ยี่จอหอ. (2556). คู่มือมาตรฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชน. เชียงใหม่: สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน.
10. พรทิพย์ วีระสวัสดิ์. (2551). ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์กรณีศึกษา: ชุมชนประตูจีน และชุมชนป้อมเพชร อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, พระนครศรีอยุธยา.
11. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496. (13 กุมภาพันธ์ 2496). แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2546. ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 70, ตอนที่ 14. หน้า 222.
12. พิมพ์ระวี โรจน์รุ่งสัตย์. (2553). การท่องเที่ยวชุมชน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
13. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2552). เอกสารชุดวิชา การจัดการนันทนาการและการทองเที่ยวทางธรรมชาติ. นนทบุรี: สำนักพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
14. ศุภลักษณ์ อัครางกูร. (2555). พฤติกรรมนักท่องเที่ยว.กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
15. สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2558). สรุปสถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศ พ.ศ. 2552 – 2558.
16. สำนักพัฒนาการท่องเที่ยว. (2552). รายงานประจำปี 2552 สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
17. สิริอร วิชชาวุธ และคณะ. (2555). จิตวิทยาการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
18. สุดชีวัน นันทวัน ณ อยุธยา. (2551). การจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง. รายงานการศึกษาอิสระปริญญาศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมือง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
19. สุภางค์ จันทวานิช. (2552). การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
20. เอกชัย กี่สุขพันธ์และคณะ. (2553). การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
21. Anderson, A. A., (2013). The Community Builder’s Approach to a Practical Guide to Theory Development: Theory of Change (Vol. 2015). New York: The Aspen Institute Roundtable on Community Change.
22. Clark, H., & Anderson, A. A. (2004). Theories of change and logic models: Telling them apart. Paper presented at the American Evaluation Association Conference.
23. Colby, D. & Collins, E. (2013). Fundamentals of Theory of Change. 2013. .ActKnowlege Webinar: Fundamentals of Theory of Change. 2013. Retrieved December 17, 2015.
24. Dana, H. T., & Clark, H. (2012). Intervention Logic and Theories of Change: What are they, how to build them and how to use them. Retrieved November 17, 2015.
25. Dana, H. T., & Clark, H. (2012, December 10, 2015). Theory of Change, Basics: a Primer on Theory of Change. Retrieved November 15, 2015.
26. Hector. 1996. Tourism, ecotourism, and protected areas: the state of nature-based tourism around the world and guidelines for its development. Gland; Cambridge: IUCN.