ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง

Main Article Content

ประดิษฐ์ ศรีโนนยาง

Abstract

               The objectives of the research were 1) to study the level of factors – personal factors, family factors and factors of the university’s environment – influencing the life quality of students in Mahakut Buddhist University, Srilanchang Campus, 2) to study relationship between personal factors, family factors and factors of the university’s environment and the life quality of students in Mahakut Buddhist University, Srilanchang Campus, and 3) to study predictors influencing the life quality of students in Mahakut Buddhist University, Srilanchang Campus. The population of the research was a total of 2-to-4-year students of Bachelor of Political Science Program in Political Government / Government and Bachelor of Education Program in Teaching English, who were studying in the first semester of the academic year 2017. 93 samples were selected by Taro Yamane’s calculating formula. The data were analyzed by statistics, comprised of frequency, percentage, mean and standard deviation.


               The research findings were found that the life quality of students in Mahamakut Buddhist University was found to be overall at a high level ( = 3.56). Considered in each aspect, the life quality on residence was found to be at a high level, followed by the life quality on psychological aspects, the life quality on learning, and the life quality on social activities, and the university’s service was found to be at the lowest level ( = 3.31).


               The factor of the university’s environment and the factor of parents’ education support were found to influence the life quality of students in Mahamakut Buddhist University, Srilanchang Campus at a statistically significant level of 0.01 whereas the factor of age and the factor of the university’s environment on premises were found to influence the life quality of students in Mahamakut Buddhist University, Srilanchang Campus at a statistically significant level of 0.05.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

* หนังสือภาษาไทย
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2540). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สำนักทดสอบทางการศึกษา และจิตวิทยา. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
ภาสกร ดอกจันทร์, ผศ. ดร., (2556). 18 ปี ศรีล้านช้าง. พิมพ์ครั้งที่ 2. เลย: บจก. รุ่งแสงธุรกิจ การพิมพ์.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. (2551.) คู่มือการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. นครราชสีมา: สมบูรณ์ การพิมพ์.
ราชกิจจานุเบกษา. (2520). พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้ใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2520. เลม 94 ตอนที่ 31 ก วันที่ 12 สิงหาคม 2520
วิภาพร มาพบสุข. (2550). การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม. กรุงเทพมหานคร : แพร่พิทยา.
สำนักงานปฏิรูปการศึกษา. (2554). สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559. พิมพ์ ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.

* หนังสือภาษาอังกฤษ
Astin, Alexander W. (1968). The College Environment. Washington, D.C.: American Council on Education.
Best, John W. (1981). Research in Education. 4th ed. New Jersey: Prentice – Hall Inc. p. 182.
Campbell, A. Aspirations, Satisfaction and Fulfillment. In EA. Campbell and P.E. Converse Ceds. The Human Meaning of Social Change. 1972. New York: Russell Sage Foundation.

* วารสาร
จันทรา อุ้ยเอ้ง. (2557). คุณภาพชีวิตของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยราชมงคล- ศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง. วารสารวิชาการและวิจัย มทร. พระนคร ฉบับพิเศษ การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล ครั้งที่ 5.
ภัทรพล มหาขันธ์, ดร. (2550). การศึกษาคุณภาพชีวิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร. Veridian E-Journal, Silpakorn University. 4 (2)
วิเชียร เกตุสิงห์. (ม.ป.ป.) ค่าเฉลี่ยกับการแปลความหมาย : เรื่องง่าย ๆ ที่บางครั้งก็ผิดพลาดได้. ข่าวสารการวิจัยการศึกษา. 18 (3) : 8–11. กุมภาพันธ์ – มีนาคม 2538.

* วิทยานิพนธ์
กนกวรรณ ทองตำลึง. (2552). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตในโรงเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (คหกรรมศาสตร์เพื่อพัฒนาชุมชน). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง
กฤตธัช อันชื่น. (2557). รายงานวิจัยสถาบันเรื่อง คุณภาพชีวิตของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. ส่วนกิจการนักศึกษา สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เจตน์สุดา ทศานนท์ (2547). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาของโรงเรียนอนุบาลเชียงราย. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (บริหารการศึกษา). เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ธนิตา ชี้รัตน์. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องค์รักษ์. สารนิพนธ์ บธ.ม. (การ จัดการทั่วไป). ปทุมธานี: คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ประยูร สุยะใจ, พระมหา. (2548). องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อปัญหาการเรียนภาษาอังกฤษของนิสิต คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
เพาพะงา จิตต์สวาสดิ์. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยของนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา (หลักสูตร 5 ปี) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ กศ.ม.
(จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วิรชาม์ กุลเพิ่มทวีรัชต์. (2547). ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาอังกฤษของนักเรียนช่วงชั้นที่ 4 โรงเรียน วัดราชโอรส เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สำราญ จูช่วย, สลักจิตร หิรัญสาลี และสุนทรีย์ สองเมือง. (2556). “คุณภาพชีวิตนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ : กรณีศึกษานักศึกษา เข้าใหม่ ปีการศึกษา 2555” รายงานการวิจัย. คณะบริหารธุรกิจ. วิทยาลัยราชพฤกษ์.
สุพรรณิการ์ มาศยคง. (2554). คุณภาพชีวิตในโรงเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ วท.ม. (สถิติประยุกต์และเทคโนโลยีสารสนเทศ). กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สุภาพร วิวัฒน์อัศวิน. (2546). ปัจจัยทางชีวสังคม อัตมโนทัศน์และความฉลาดทางอารมณ์กับทัศนคติในการมีคู่ครองของบุคลากร ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. สารนิพนธ์ กศ.ม. (จิตวิทยาพัฒนาการ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

* แหล่งข้อมูลออนไลน์
สุรางค์ โค้วตะกูล. (2537). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: คณะสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เข้าถึงได้จาก https://soc.swu.ac.th. 5 ธันวาคม 2550