ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษากับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานีเขต 3

Main Article Content

รมยกรณ์ เฉลิมศรีเมือง

Abstract

The purposes of this research were to investigate; 1) instructional leadership of school administrators.          2) Effectiveness of school and 3) the relationship between instructional leadership of school administrators and effectiveness of schools. The subjects of the study were 157 teachers. The research instrument included a questionnaire. The research data were analyzed to find out frequency, percentage mean, standard deviation, and Pearson’s correlation coefficient.


The results showed that; 1) the overall and individual aspects of instructional leadership of school administrators were at high levels. When considered by aspect, the highest level of school administrators was the general administration. Next was the budget administration and the personnel administration. At least was the academic administration.  2) the overall and individual aspects of effectiveness of schools were at high level and 3) the relationship between instructional leadership of school administrators and effectiveness of schools revealed a rather high positive correlation with a statistically significant level at .05

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กรุณา พวงสมบัติ. (2553). การศึกษาองค์ประกอบของการบริหารงานวิชาการที่ส่งผลต่อผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครสวรรค์ เขต 2. การศึกษาค้นคว้าอิสระ ศษ.ม. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร
กฤษณะ โสขุมา. (2556). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-net) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 ราชบุรี. งานวิจัยได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
จารุนันท์ โพธิ์ทอง. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2. การศึกษาค้นคว้าอิสระ ศษ.ม. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชนิดา ยอดสาลี. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2. วิทยานิพนธ์ คบ. เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
ชวิศ สมบัติวงศ์. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษากับผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานของโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2552 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัยมศึกษา เขต 33. วิทยานิพนธ์ คบ. สุรินทร์: มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์.
พรทิพย์ เอี่ยมมาลา. (2556). การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32. วิทยานิพนธ์ คม. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2554). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ไพฑูรย์ สุขผลานันท์. (2558). การศึกษาสภาพการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด. วิทยานิพนธ์ ค.ม. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
มนต์ฤดี ถือสมบัติ. (2556). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ.
เมตตา สารีวงค์. (2558). การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ คม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
วิไลวรรณ วรางคณากูล. (2556). ปัจจัยการบริหารงานวิชาการที่ส่งผลต่อผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของนักเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.
วีระยุทธ ชาตะกาญจน์. (2556). เทคนิคการบริหารสำหรับนักบริหารมืออาชีพ. (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศรีวราพร ทาระคำ.(2550). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและบทบาทการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน ตามทัศนะของครูโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
สุรเดช จิรัฐิติวิชาไชย. (2559). การบริหารการจัดการเพื่อบกระดับผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนแม่แอบวิทยาคม. การศึกษาค้นคว้าอิสระ ค.ม. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สาวิตรี ศรีวะบุตร. (2559). การบริหารงานวิชาการที่สัมพันธ์กับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4. วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต, ปีที่ 16 ฉบับที่ 1, 93-103.
เอื้อมพร หลินเจริญ และคณะ. (2552). รายงานการวิจัยปัจจัยเชิงสาเหตุที่ทำให้คะแนนการทดสอบ o-net ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ต่ำ พิษณุโลก. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน).
อภิญญา เจริญกิจ (2556). การบริหารงานวิชาการที่สัมพันธ์กับการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ระดับชาติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดระยอง.วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
Hoy, W. K. and Miskel, C. G. (2001). Education and Administration Theory. Research and Practice. (6th ed). New York: McGraw Hill.
Seyfarth, J. T. (2005). Human resource management : for effective school. (4th ed). Boston : Pearson Education