การเขียนบทความให้ได้รับการตีพิมพ์

Niruwan Turnbull

ผู้แต่ง

  • นิรุวรรณ เทิรนโบล์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คำสำคัญ:

บทความ, ตีพิมพ์, บทความวิจัย, การเขียนบทความ

บทคัดย่อ

          การเขียนบทความการวิจัย หรือบทความทางวิชาการนั้นมีเหตุผลที่ผู้เขียนต้องการเขียนแตกต่างกันไปในแต่ละคน บทความวิชาการเรื่องนี้ขอเสนอแนะการเขียนบทความวิจัย สำหรับผู้วิจัยที่จะเริ่มต้นตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยของตนเองตามวารสารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นวารสารในประเทศหรือต่างประเทศ บทความนี้กล่าวถึงการวางแผนในการจัดทำบทความวิจัยไว้ 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นตอนการกำหนดกลยุทธ์ และวางแผนในการเขียน (Have a strategy, make a plan) 2) ขั้นตอนการจัดทำ หรือจัดเตรียมรูปแบบของบทความ (Preparation of Manuscript) และ 3) ขั้นตอนการตรวจสอบก่อนและหลังส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ (Final Checks Before and After Submitting) พร้อมทั้งได้เสนอแนะองค์ประกอบของบทความที่เป็นองค์ประกอบหลักๆ ของบทความวิจัย โดยการกำหนดคำย่อที่เป็นภาษาอังกฤษ เพื่อให้ผู้เขียนบทความจำได้ง่ายขึ้นแบ่งเป็น 1) ส่วนนำของบทความวิจัยอาจใช้คำว่า TAS ซึ่งก็หมายถึง Title (T), Authorises (A), S (Summary, Abstract) 2) ส่วนเนื้อหาของบทความวิจัยอาจใช้คำว่า IMRAD ซึ่งก็หมายถึง I (Introduction) M (Material or Methods) R (Results) A (and) D (Discussion) และ 3) ส่วนท้ายของบทความวิจัยใช้คำว่า CAR ซึ่งก็หมายถึง C (Conclusion) A (Acknowledgment) R (References) นอกจากนั้นบทความนี้ยังเสนอแนะขั้นตอนสรุปและขั้นตอนในการตีพิมพ์บทความทางวิชาการ และบทความการวิจัยในวารสารวิชาการต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

Author Biography

นิรุวรรณ เทิรนโบล์, คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Assistant Professor of Faculty of Public Health , Mahasarakham University

References

1. Dixon N. Writing for publication–a guide for new authors. International journal for quality in health care 2001 Oct 1;13(5):417-21.

2. Sharp David. Kipling’s guide to writing a scientific paper. Croatian Medical Journal 2002; 43(3): 262-67.

3. Abraham P. The IMRaD format. Hosted by Medknow.[Online] 2016. [cited 2016 December 5]. Available from https://www.jpgmonline.com/wc_pdf/day1/1045_PA_IMRaD-3.pdf

4. Grewal A, Kataria H, Dhawan I. Literature search for research planning and identification of research problem. Indian journal of anaesthesia. 2016 Sep;60(9):635.

5. Joshi Y. Why do journals ask for keywords?. Editage Insights (27-02-2014). 2014 Feb 27.

6. Kallestinova ED. How to write your first research paper. The Yale journal of biology and medicine. 2011 Sep;84(3):181.

7. Belcher WL. Writing your journal article in twelve weeks: A guide to academic publishing success. Sage; 2009 Jan 21.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-02-19

ฉบับ

บท

บทความปริทัศน์ (Review article)