การคัดแยกยางพาราแผ่นรมควันจับตัวด้วยกรดต่างชนิดกันด้วยเทคนิคสเปกโทรสโกปีอินฟราเรดย่านใกล้

Main Article Content

แก้วกานต์ พวงสมบัติ
อาทิตย์ พวงสมบัติ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ศึกษาการประยุกต์ใช้เทคนิคสเปกโทรสโกปีอินฟราเรดย่านใกล้ (NIRS) สำหรับการคัดแยกยางพาราแผ่นรมควันที่จับตัวด้วยกรดฟอร์มิกและกรดซัลฟิวริก ตัวอย่างยางพาราแผ่นคมควันนำมาวัดการดูดกลืนแสงที่มีการศึกษาการวัดแบบสะท้อนของผิว โดยสมการ calibration ที่เหมาะสมใช้การวิเคราะห์แบบ partial least squares discriminant analysis (PLSDA) มีการปรับแต่งสเปกตร้าด้วยวิธี Smoothing แบบ Savitzky Golay ร่วมกับวิธี Second Derivative แบบ Savitzky Golay และ วิธี Standard normal variate (SNV) พบว่าโมเดลที่ใช้สเปกตราแต่ละจุดที่ผ่านการ Smoothing ร่วมกับ SNV  และ โมเดลที่ใช้สเปกตราเฉลี่ยสามค่าจากหนึ่งตัวอย่างที่ผ่านการ Smoothing ร่วมกับ SNV-avg ให้ค่า rp สูงสุดเท่ากับ 0.784 และ 0.817 มีค่า RMSEP เท่ากับ 0.311 และ 0.300 ตามลำดับ โดยสามารถคัดแยกกรดฟอร์มิก และกรดซัลฟิวริกได้ถูกต้อง 92.92% และ 95.00% ตามลำดับ  

Article Details

บท
Post-harvest and food engineering

References

1. ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล. 2558. หยุดการใช้กรดซัลฟิลริกในการจับตัวยาง. ศูนย์วิจัยยางสงขลา สถาบันวิจัยยาง การยางแห่งประเทศไทย, วารสารยางพารา, ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 23 ตุลาคม-ธันวาคม 2558. http://www.thainr.com/ uploadfile/ 20160115110920.pdf. เข้าถึงเมื่อ 10 ธันวาคม 2560.
2. ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล. 2560. ยางแผ่นรมควัน มาตรฐาน GMP ยกระดับคุณภาพยางไทย. ฝ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาง, การยางแห่งประเทศไทย. http://www.yangpalm. com. เข้าถึงเมื่อ 2 มีนาคม 2561.
3. นิพนธ์ ตังคณานุรักษ์. 2545. หลักพื้นฐานของเทคนิคอินฟราเรดย่านใกล้สเปกโตรสโกปี. น. 39 – 61. การอบรมเชิงปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพสินค้าด้วยเทคนิค Near Infrared Spectroscopy เพื่อการแข่งขันในเวทีการค้าโลก. 27 - 28 พฤศจิกายน 2545. สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.
4. วรวุฒิ กังหัน. 2557. การคัดแยกเกรดยางพาราแผ่นรมควันโดยใช้วิธีการประมวลผลด้วยภาพ. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: วิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
5. สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. 2560. สถิติส่งออก – ยางธรรมชาติ. http://rubber.oie.go.th/ImExThaiBy Product. aspx?pt=ex. เข้าถึงเมื่อ 8 ธันวาคม 2560
Fu, X., Ying, Y., Lu, H., and Xu, H. 2007. Comparison of diffuse reflectance and transmission mode of visible-near infrared spectroscopy for detecting brown heart of pear. Journal of Food Engineering 83(3), 317-323.
6. Osborne B., Fearn T., Hindle P. H.. 1993. Practical NIR Spectroscopy with Applications in Food and Beverage Analysis, Longman Scientic and Technical, Harlow, UK .
7. Phuangsombut K., Suttiwijitpukdee N., and Terdwongworakul A. 2016. Nondestructive classification of mung bean seeds by single kernel near-infrared spectroscopy. Journal of Innovative Optical Health Sciences, 10(6).
8. Terdwongworakul, A., Nakawajana, N., Teerachaichayut, S., and Janhiran, A. 2012. Determination of translucent content in mangosteen by means of near infrared transmission. Journal of Food Engineering 109(1), 114-119.
9. Workman J. and Weyer L. 2008. Practical Guide to Interpretive Near Infrared Spectroscopy. CRC Press, Boca Raton. FL, USA.