คุณลักษณะการอบแห้งของสาหร่ายเตาด้วยคลื่นไมโครเวฟ

Main Article Content

Rittichai Assavarachan

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาคุณลักษณะการอบแห้งสาหร่ายเตาในระหว่างการอบแห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟ ที่ระดับกำลัง งานไมโครเวฟที่ 752.04±1477, 465.15±9.08, 231.18±5.83 และ 164.34±3.81 วัตต์ ตามลำดับ จากความชื้นเริ่มต้นเท่ากับ 15.5142±0.4408 จนเหลือความชื้นที่ 0.1043±0.0907 กรัมต่อกรัมน้ำหนักแห้ง โดยใช้เวลาในการอบแห้งเท่ากับ 25, 49, 91 และ 165 นาที ตามลำดับ การศึกษาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของการอบแห้งสาหร่ายเตาด้วยคลื่นไมโครเวฟซึ่งประกอบด้วยแบบจำลอง Lewis, Page และ Modified Page ผลการศึกษาพบว่าแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ในรูปแบบของสมการกึ่งทฤษฎีของ Page มีความ เหมาะสมมากที่สุด เนื่องจากมีค่า R2 ในช่วง 0.9928-0.9973 ซึ่งมีค่ามากกว่าแบบจำลองทางคณิตศาสตร์การอบแห้งแบบอื่นๆ และมี ค่า \chi2 และ RMSE ระหว่าง 6.03 x 10-3 ถึง 0.22 x 10-3 และ 0.0149 ถึง 0.0774 ตามลำดับ และการทวนสอบแบบจำลองทาง คณิตศาสตร์ของ Page ด้วยการอบแห้งสาหร่ายเตาด้วยคลื่นไมโครเวฟที่ระดับ 605.81± 4.92 วัตต์ พบว่าความกลมกลืนกับข้อมูลที่ ได้จากการทดลองมีค่า \chi2 และ RMSE เท่ากับ 8.49 x 10-3 และ 0.0921 ตามลำดับ

Article Details

บท
Post-harvest and food engineering

References

ดวงพร อมรเลิศ, พิศาล ยุวดี, พีรพรพิศาล, ฐิติกานต์ ปัญโญใหญ่,

ชยากร ภูมาศ และสุดาพร ตงศิริ. 2555. ฤทธิ์ต้านอนุมูล

อิสระและต้านการอักเสบของสาหร่ายเตา. วารสาร

วิทยาศาสตร์ มข 40(1), 228-235.

ผดุงศักดิ์ รัตน์เดโช. 2551. พื้นฐานการให้ความร้อนด้วย

ไมโครเวฟ พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,

กรุงเทพมหานคร.

ธีระวัฒน์ รัตนพจน์, รัตนาภรณ์ จันทร์ทิพย์, เกรียงศักดิ์ เม่ง

อำพัน และดวงพร อมรเลิศพิศาล. 2554. การเปรียบเทียบ

ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและกลุ่มสารสำคัญของสาหร่ายเตาใน 3

ฤดูกาล. หน้า 100-101. ในการประชุมวิชาการประมง ครั้งที่

เรื่อง เพื่อความมั่นคงด้านวิชาการประมงและทรัพยากร

ทางน้ำ. 1-3 ธันวาคม 2554. คณะเทคโนโลยีการประมงและ

ทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่.

ฤทธิชัย อัศวราชันย์, ภานาถ แสงเจริญรัตน์, สุเนตร สืบค้า,

เฑียรมณี มั่งมูล และดวงกมล จนใจ. 2554. จลนพลศาสตร์

การอบแห้งด้วยลมร้อนของเปลือกทับทิม. วารสารสมาคม

วิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย 17(1), 27-34.

ฤทธิชัย อัศวราชันย์. 2554 ก. การอบแห้งผลผลิตทางการเกษตร

ด้วยคลื่นไมโครเวฟ. วิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต 1(2), 31-42.

ฤทธิชัย อัศวราชันย์. 2554 ข. เทคโนโลยีการสร้างความร้อนด้วย

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการแปรรูปอาหาร. วารสารสมาคม

วิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย 17(1), 41-52.

สรฉัตร เทียมดาว และยุวดี พีรพรพิศาล. 2552. ความหลากหลาย

ของสาหร่ายน้ำจืดกินได้ในแม่น้ำโขงและแม่น้ำน่าน. วารสาร

วิจัยเทคโนโลยีการประมง 3(1), 115-124.

สุเนตร สืบค้า และฤทธิชัย อัศวราชันย์. 2554. แบบจำลองทาง

คณิตศาสตร์การอบแห้งสำหรับวัสดุพรุน. วารสารสมาคม

วิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย 17(1), 59-68.

Alibas, I. 2007. Microwave, air and combined microwaveair-

drying parameters of pumpkin slices. LWT 40:

-1451.

Assawarachan, R., Sripinyowanich, J., Theppadungporn,

K. and Noomhorm, A. 2011. Drying paddy by

microwave vibro-fluidized drying using single mode

applicator. International Journal of Food, Agriculture &

Environment 9(2), 50-54.

Assawarachan, R. and Noomhorm, A. 2011. Mathematical

models for vacuum microwave concentration

behavior of pineapple juice. Journal of Food Process

Engineering 34(5), 1485-1505.

Cui, Z.W., Xu, S.Y. and Sun, D.W. 2004. Microwavevacuum

drying kinetics of carrot slices. Journal of

Food Engineering 65, 157-164.

Idris, A., Khalid, K. and Omar, W. 2004. Drying of silica

sludge microwave heating. Applied Thermal

Engineering 24, 905-918.

Maskan, M. 2001. Drying, shrinkage and rehydration

characteristics of kiwifruits during hot air and

microwave drying. Journal of Food Engineering 48,

-182.

Ozkan, I.A., Akbudak, B. and Akbudak, N. 2007. Microwave

drying characteristics of spinach. Journal of Food

Engineering 78, 577-583.

Wang, Z., Sun, J., Chen, F., Liao, X. and Hu, X. 2007.

Mathematical modeling on thin layer microwave

drying of apple pomace with and without hot air predrying.

Journal of Food Engineering 80, 536-544.