ที่มาของสมการ Ergun เพื่อการคำนวณความเร็วต่ำสุดของการเกิดฟลูอิไดซ์สำหรับอนุภาคของแข็ง

Main Article Content

Rawin Surbkar

บทคัดย่อ

ความรู้เกี่ยวกับความเร็วต่ำสุดของการเกิดฟลูอิไดซ์ในเบดของแข็งจำเป็นสำหรับการออกแบบและการใช้งานระบบฟลูอิไดซ์ที่มีประสิทธิภาพซึ่งอาจใช้ในกระบวนการผสม การอบแห้ง การแช่เยือกแข็ง หรือหน่วยปฏิบัติการอื่น ๆ ระบบฟลูอิไดเซชันที่มีประสิทธิภาพต้องการอัตราการไหลของอากาศที่เหมาะสมโดยไม่ทำให้วัสดุภายในเบดมีสภาวะสแตติก หรือหลุดลอดออกไปจากเบด บทความวิชาการนี้จึงนำเสนอที่มาของสมการ Ergun ซึ่งเป็นสมการที่นิยมใช้ในการคำนวณความเร็วต่ำสุดของการเกิดฟลูอิไดซ์ และการหาคุณลักษณะของอนุภาคที่ใช้ประกอบการคำนวณ ได้แก่ ขนาด ความหนาแน่นปรากฏ ความพรุน และแฟคเตอร์รูปร่าง

Article Details

บท
Post-harvest and food engineering

References

กิตติ สิทธิประภาพร และกิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย. 2547.

คุณลักษณะการอบแห้งพริกด้วยเทคนิคฟลูอิดไดซ์เบด. การ

ประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย

ครั้งที่ 18, 18-20 ตุลาคม 2547 จังหวัดขอนแก่น.

จิรเมธา สังข์เกษม. 2549. การเพิ่มประสิทธิภาพการอบแห้งเมล็ด

ข้าวโพดโดยใช้ฮีตเตอร์เป็นความร้อนเสริมในฟลูอิดไดซ์เบดที่

ใช้ฮีตปั๊ม. การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกล

แห่งประเทศไทยครั้งที่ 20, 18-20 ตุลาคม 2549 จังหวัด

นครราชสีมา.

ชริน สังข์เกษม. 2547. การศึกษาฟลูอิดไดเซชั่นโดยใช้ความร้อน

จากชุดคอนเดนเซอร์เพื่อใช้ในกระบวนการอบแห้ง. ใน การ

ประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย

ครั้งที่ 18, 18-20 ตุลาคม 2547 จังหวัดขอนแก่น.

ปัณณธร ภัทรสถาพรกุล. 2548. การทำให้เป็นเม็ดด้วยวิธีแช่

เยือกแข็ง. วารสารสมาคมเครื่องทำความเย็นไทย 14, 15-18.

ไพโรจน์ จันทร์แก้ว และศิวะ อัจฉริยวิริยะ. 2555. บทวิเคราะห์

การอบแห้งธัญพืชโดยประยุกต์ใช้เทคนิคฟลูอิดไดซ์เบด. ใน

การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย

ครั้งที่ 13, 4-5 ตุลาคม 2555 จังหวัดเชียงใหม่.

ศิลาพันธุ์ ประทุมทิพย์, สมิทธ์ เอี่ยมสอาด และวิษณุ มีอยู่. 2546.

การศึกษาการเกิดฟลูอิดไดซ์เซชั่นในเครื่องปฏิกรณ์ฟลูอิดไดซ์

เบดแบบสองสถานะที่มีการปรับเปลี่ยนแผ่นกระจาย.

วิศวกรรมสาร ม.ข. 30(3): 261-273.

ASABE Standards. 2008. Method of determining and

expressing fineness of food materials by sieving.

ASAE S319.4 FEB2008. St. Joseph, Mich. ASAE.

Bird, R. B. 1960. Transport phenomena. New York,

Wiley.

Bird, R.B., Stewart,W.E. and Lightfoot, E.N. 2001. Transport

phenomena, 2nd Ed., Wiley, New York.

Dutta, S.K., Nema, V.K. and Bhardwaj, R.K. 1988. Physical

properties of gram. J. agric. Engng Res. 39, 259-268.

Ergun, S. 1952. Fluid flow through packed columns.

Chemical Engineering Progress 48(2): 89-94.1

Gidaspow, D. 1994. Multiphase flow and fluidization :

continuum and kinetic theory descriptions. Boston,

Academic Press.

Green, D. W. and Perry, R. H. 2008. Perry's chemical

engineers' handbook, 8th Ed. McGraw-Hill.

Guo, Q., Suda, T., Sato, J. C. and Yue, G. 2004.

Agglomeration behavior in a bubbling fluidized bed

at high temperature. Chem. Eng. Comm., 191, 1329-

Gupta, R.K. and Das, S.K. 1997. Physical properties of

sunflower seeds. J. agric. Engng Res. 66: 1-8.

Ibarz, A. and Barbosa-Canovas, G. V. 2003. Unit

operations in food engineering. Boca Raton, CRC

Press.

Kaleemullah, S. and Kailappan, R. 2003. Geometric and

morphometric properties of chillies. International

J. of Food Properties 6(3), 481-498.

Kunii, D. and Levenspiel, O. 1991. Fluidization

engineering. New York and London: Wiley & Sons., Inc.

pp.

Mawatari, Y., Tatemoto,Y. and Noda, K. 2003. Prediction

of minimum fluidization velocity for vibrated fluidized

bed. Powder Technology 131: 66–70.

McCabe, W.L., Smith, J.C. and Harriott, P. 2005. Unit

operations of chemical engineering. Boston, Mass.,

McGraw-Hill.

Mohsenin, N.N. 1980. Physical properties of plant and

animal material, 3rd revised and updated Ed. Gordon

and Breach Science Publishers: AW Amsterdam, the

Netherlands.

Olajide, J.O. and Ade-Omowaye, B.I.O. 1999. Some

physical properties of locust bean seed. J. agric.

Engng Res. 74, 213-215.

Olaoye, J.O. 2000. Some physical properties of castor nut

relevant to the design of processing equipment. J.

agric. Engng Res. 77(1), 113-118.

Perry, R. H., Green, D. W. and Maloney, J.O. 1997. Perry's

Chemical Engineers' Handbook. McGraw-Hill. 2640 p.

Selvi, S.Ç., Pinar, Y. and Yesiloglu, E. 2006. Some physical

properties of linseed. Biosystems Engineering 95(4):

-612.

Smith, P.G. 2007. Applications of fluidization to food

processing. Oxford: Blackwell Science.

Unal, H., Isik, E., Izli, N. and Tekin, Y. 2008. Geometric and

mechanical properties of mung bean (Vigna radiate

L.) grain: effect of moisture. International J. of Food

Properties 11: 585-599.

Yang, W.C. 1999. Fluidization, solids handling and

processing : industrial applications. Westwood, N.J.,

Noyes.