เทคโนโลยีการให้น้ำด้วยสายยางน้ำซึม

Main Article Content

Somchai Donjadee

บทคัดย่อ

สายยางน้ำซึมเป็นเทคโนโลยีใหม่สำหรับการให้น้ำกับพืชแบบจุลภาคและเริ่มใช้งานเมื่อ 2-3 ปีที่ผ่านมาในประเทศไทย ทำให้ข้อมูลด้าน ลักษณะการจ่ายน้ำ อัตราการจ่ายน้ำ และความสม่ำเสมอของการจ่ายน้ำยังมีอยู่น้อย ดังนั้นบทความวิชาการนี้จึงได้นำเสนอข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับสายยางน้ำซึมที่ได้รวบรวมจากผลงานวิจัยของหลายท่าน จากงานวิจัยที่ผ่านมาพบว่าสายยางน้ำซึมที่ผลิตขึ้นเพื่อการให้น้ำกับพืชนั้นมีลักษณะเป็นท่อกลมที่มีความยืดหยุ่นสูงและผลิตขึ้นจากยางเก่าที่ใช้แล้วผสมกับพอลิเมอร์และขึ้นรูปด้วยการรีด ภายใต้ความร้อนและความดัน เมื่อให้น้ำน้ำจะซึมออกมาตามผนังของสายยางตลอดความยาวสาย ดังนั้นสายยางน้ำซึมจึงเป็นทั้งอุปกรณ์ลำเลียงน้ำและอุปกรณ์จ่ายน้ำ สำหรับสายยางน้ำซึมเส้นใหม่ซึ่งยังไม่ได้ผ่านการใช้งานมาก่อน อัตราการจ่ายน้ำมีค่าสูงในช่วงแรกและจะลดลงจนมีค่าค่อนข้างคงที่เมื่อผ่านช่วงการบ่มสายยางแล้ว การบ่มสายยางควรใช้น้ำสะอาดและเวลาอย่างน้อย 28 hr โดยใช้ความดันในการบ่มประมาณ 2 เท่าของความดันใช้งาน ค่าความสม่ำเสมอของการให้น้ำของสายยางนั้นมีค่าอยู่ในเกณฑ์ตั้งแต่ต่ำจนถึงสูง ทั้งนี้อยู่กับคุณสมบัติของสายยาง อย่างไรก็ตามสายยางน้ำซึมสามารถใช้ให้น้ำกับพืชทั้งบนดิน ใต้ดิน และอื่น ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้งานเพื่อการให้น้ำ

Article Details

บท
Soil and water engineering

References

ปนัดดา การินทร์. 2552. การศึกษาผลกระทบของความยาวท่อ

และความดันต่ออัตราการไหลและความสม่ำเสมอของสาย

ย า ง น้ำ ซึม . ภ า ค วิช า วิศ ว ก ร ร ม ช ล ป ร ะ ท า น ค ณ ะ

วิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,

นครปฐม 149 หน้า.

พรลิขิต ทองรอด และสมชาย ดอนเจดีย์. 2554. ประสิทธิภาพ

การให้น้ำของสายยางน้ำซึม. การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 8

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำ แพงแสน.

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. นครปฐม.

ภูณิศา เมืองเก่า และรัตนาวลี ฮกง้วน. 2553. การศึกษา

ผลกระทบของความดันต่ออัตราการไหลและความสม่ำเสมอ

ของการให้น้ำ ด้วยสายยางน้ำ ซึม. ภาควิชาวิศวกรรม

ชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัย

เกษตรศาสตร์., นครปฐม 53 หน้า.

มนตรี ค้ำชู. 2532. หลักการชลประทานแบบหยด การออกแบบ

และการแก้ปัญหา. ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะ

วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. นครปฐม.

วิบูลย์ บุญยธโรกุล. 2526. หลักการชลประทาน. ภาควิชา

วิศ ว ก ร ร ม ช ล ป ร ะ ท า น ค ณ ะ วิศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.

สิทธิชัย อุดมสินวรกุล. 2552. การประเมินผลกระทบของรูปแบบ

การติดตั้งสายยางน้ำซึมต่ออัตราการไหลและความสม่ำเสมอ.

ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร์

กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. นครปฐม 35 หน้า.

อิทธิพล แจ้งชัด. 2552. "ท่อน้ำซึมจากผงยางรถยนต์

สํ า ห รั บ ง า น เ ก ษ ต ร ก ร ร ม . แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล :

http://www.kmitl.ac.th/~kjittipo/res-porouspipe.htm.

Accessed 8 ส.ค. 2552

Amin, M. S. M., Lim, C. W. and Zakaria, A. A. 1998. Flow

characteristics of a porous pipe irrigation lateral.

Pertanika Journal of Science & Technology 6, 37-46.

Donjadee, S., Cherdchanpipat, N., Kwanyuen, B. and

Yosufi, A. T. 2001. Porous pipe irrigation: a water

saving technology. Agriculture for better living and

global economy, Nong Nooch Tropical Botanical

Garden & Resort, Pattaya, Thailand.

Kang, Y. 2000. Effect of operating pressure on

microirrigation uniformity. Irrigation Science, 20(1),

-27.

Keller, J. and Karmeli, D. 1974. Trickle irrigation design

parameters. Transactions of the American Society

of Agricultural Engineers, 17(4), 678-684.

Khorramain, M. and Mirlatifi, S. M. 2000. Hydraulics of

porous pipe evaluation. Journal of Soil and Water

Science, 2, 177-188.

Leaky Pipe Systems Limited. 2009. Leaky pipe porous

hose system/garden water conservation. Available

at:http://www.leakypipe.co.uk. 2009. (aAccessed 12

May 2009).

Melano, H. M. and Kamaladasa, N. N. 1993. Summary

of test results of porous irrigation pipe "Leaky Hose.

Faculty of Engineering, International Development

Technilogies Centre, The University of Melbourne,

P 18.

Nayanakantha, N. M. C. and Seneviratne, P. 2003.

Influence of a porous pipe micro-irrigation system on

growth of rubber seedlings Water Professionals’

Symposium, Water Resources Research in Sri Lanka,

Sri Lanka.

Porous Pipe Limited. 2009. Porous pipe limited - U.K.

[online]. Available at: http://www.porouspipe.co.uk.

Accessed 12 May 2009.

Povoa, A. F. and Hills, D. J. 1994. Sensitivity of

microirrigation system pressure to emitter plugging

and lateral line perforations. Transactions of the

American Society of Agricultural Engineers 37.

Saad, J. C. and Marino, M. A. 2002. Optimum design of

microirrigation system in sloping lands. Journal of

Irrigation and Drainage Engineering 128, 116-124.

Teeluck, M. and Sutton, B. G. (1998). Discharge

characteristics of a porous pipe microirrigation lateral.

Agricultural Water Management 38, 123-134.

Yoder, R. E. and Mote, C. R. 1995. Porous pipe discharge

uniformity. Microirrigation for a Challenging Word,

Proceedings of the Fifth International Microirrigation

Congress, 2-6 April 1995, Orlando, Fl, pp. 750-755.