โคลงนิราศพระประธม: วรรณกรรมเชิงสาธิตแบบวิธีแห่งโคลงสี่สุภาพ

Main Article Content

ธงชัย ดิษโส

บทคัดย่อ

โครงนิราศพระประธม พระนิพนธ์ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท เป็นผลงานที่กวีทรงมุ่งแสดงแบบแผนด้านฉันทลักษณ์และลักษณะอันไพเราะของโคลงสี่สุภาพที่ควบคู่กันไปอย่างเหมาะสมลงตัว ซึ่งสะท้อนให้เห็นพระอัจฉริยลักษณ์ของกวีผู้ทรงความรู้ด้านการประพันธ์อย่างแท้จริง

Article Details

How to Cite
ดิษโส ธ. (2016). โคลงนิราศพระประธม: วรรณกรรมเชิงสาธิตแบบวิธีแห่งโคลงสี่สุภาพ. วรรณวิทัศน์, 2, 90–104. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2002.8
บท
บทความประจำฉบับ

References

กุสุมา รักษมณี. สีสันวรรณคดี ชุดดั่งรัตนะแห่งโกสินทร์. กรุงเทพฯ: ศยาม, ๒๕๓๗.

โกชัย สาริกบุตร. การวิเคราะห์กลบทในกวีนิพนธ์ไทย. กรุงเทพฯ: หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู, ๒๕๑๘.

ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม. พระประวัติและงานสำคัญของพระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้น ๒ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท ต้นราชสกุลวงศ์ "สนิทวงศ์". กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองสาส์นการพิมพ์, ๒๕๑๘.

ธวัช ปุณโณฑก. วิวัฒนาการหนังสือแบบเรียนวิชาภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๓๘.

ปรมานุชิตชิโนรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระ. ลิลิตตะเลงพ่าย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: บรรณาคาร, ๒๕๑๕.

วงษาธิราชสนิท, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวง. โคลงนิราศพระประธม. [ม.ป.ท.], [ม.ป.ป.].

วันเนาว์ ยูเด็น. วรรณคดีเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มิตรสยาม, ๒๕๒๕.

ศิลปากร, กรม. จินดามณี เล่ม ๑-๒ บันทึกเรื่องจินดามณี และจินดามณี ฉบับสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: บรรณาคาร, ๒๕๑๔.

เศรษฐ พลอินทร์. ลักษณะคำประพันธ์ไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรไทย, ๒๕๒๔.

สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. สาขวิชาศึกษาศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย ๒ (การประพันธ์ไทย) หน่วยที่ ๑-๗. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๒๙.

สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย ๗ (วรรณคดีวิจารณ์สำหรับครู) หน่วยที่ ๑-๖. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๒๙.

สุภาพร มากแจ้ง. กวีนิพนธ์ไทย ๑. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, ๒๕๓๕.