ผลการเรียนร่วมกันโดยใช้แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสืบค้นและพฤติกรรมการมีส่วนร่วม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (Effect Of Collaborative Learing By Using Open Educational Resources In Science Subject For-) Effect Of Collaborative Learing By Using Open Educational Resources In Science Subject For Enhance Information Literacy And Collaborative Behavior Of Mathayumsuksa 3 Students

Main Article Content

ปริพัฒน์ หนูศรีแก้ว (Paripat Nusrikaew)
อนิรุทธ์ สติมั่น (Anirut Satiman)

Abstract

               การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานสภาพและความต้องการของนักเรียน และประเมินคุณภาพเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) ศึกษาความสามารถในการสืบค้นบนเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดในการเรียนร่วมกันวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3) ศึกษาพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 บนเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดในการเรียนร่วมกันวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 4) ศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดในการเรียนร่วมกันวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากรที่ศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2559 จำนวน 39 คน จากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่ายด้วยการจับฉลากโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม (Simple random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างสำหรับผู้เชี่ยวชาญ 2) แบบสอบถามสภาพและความต้องการเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ 3) แผนการจัดกิจกรรมตามแนวคิดสะเต็มศึกษาด้วยเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 4) เว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ 5) แบบประเมินตนเองในการสืบค้นบนเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 6) แบบประเมินผลงานเรียนร่วมกันโดยใช้เว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ 7) แบบประเมินพฤติกรรมการมีส่วนร่วมบนเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ และ8) แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


               เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างสำหรับผู้เชี่ยวชาญ 2) แบบสอบถามสภาพและความต้องการเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ 3) แผนการจัดกิจกรรมตามแนวคิดสะเต็มศึกษาด้วยเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 4) เว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ 5) แบบประเมินตนเองในการสืบค้นบนเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 6) แบบประเมินผลงานเรียนร่วมกันโดยใช้เว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ 7) แบบประเมินพฤติกรรมการมีส่วนร่วมบนเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ 8) แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


               ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานสภาพและความต้องการของนักเรียนอยู่ในระดับมาก และคุณภาพเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับเหมาะสมมาก                2) ผลความสามารถสืบค้นบนเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียน อยู่ในระดับมาก ( x = 3.89 S.D.= 0.88) 3) ผลพฤติกรรมการมีส่วนร่วมบนเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อยู่ในระดับดี  (  x= 3.04 S.D.= 0.18) 4) ศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อเว็บไซต์แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดวิชาวิทยาศาสตร์ อยู่ในระดับมาก (  x= 3.66 S.D.= 1.02)


 


                The purposes of this research were 1) to study basic data, situation and requirement of students and to study qualitative of open educational resources in science subject website for enhance information literacy and collaborative behaviour of students. 2) to study information literacy learning using website of students. 3) to study collaborative behaviour learning using website of students. 4) to study opinions towards leaning using website of students. The simple use in this study was 39 secondary – level 3 students at The Demonstration School of Silapakorn University in the second semester of academic year 2016 by simple random sampling.


 


               The instruments used in study wear 1) in – depth interview guideline, 2) questionnaires research instruments were need assessment for website, 3) lesson plans about stem education activity by using website, 4) open Educational Resources in science subject website, 5) information literacy scale by using website, 6) instruction product evaluates form, 7) collaborative behaviour observation by using website form and 8) questionnaires on student’s opinion towards open educational resources in science subject website. The statistics used in the study wear percentage, average score and standard deviation.


               The results of this research wear as follows 1) the basic data, situation and requirement of students show a good level and the qualitative of open educational resources in science subject website show a good level. 2) the information literacy of students with website post test show a good level. ( x = 3.89 S.D.= 0.88) 3) collaborative behaviour learning of students with website compose of researcher evaluates  show a good level.  ( x = 3.04 S.D.= 0.18). 4) the opinion of students towards open educational resources in science subject website show a good level. ( x = 3.66 S.D.= 1.02)


 

Article Details

Section
บทความ : มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ