การนำเสนอรูปแบบการฝึกอบรมเชิงรุกแบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาของพนักงานขายและบริการด้านโทรคมนาคม (The Propose Of A Proactive Training Modelwith Blended Learninig For Enhancing Problem-Solving Capabilitiesof Telesales And Service -) The Propose Of A Proactive Training Modelwith Blended Learninig For Enhancing Problem-Solving Capabilitiesof Telesales And Service Providers

Main Article Content

ชลศิลป์ ตรีสงค์ (Chonlasin Treesong)
แจ่มจันทร์ ศรีอรุณรัศมี (Jaemjan Sriarunrasmee)
ขวัญหญิง ศรีประเสริฐภาพ (Khwanying Sriprasertpap)

Abstract

                 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอรูปแบบการฝึกอบรมเชิงรุกแบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาของพนักงานขายและบริการด้านโทรคมนาคม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการวิจัยทั้งหมด โดยรูปแบบที่ได้นี้มาจากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 ท่าน ด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1. รูปแบบการฝึกอบรมเชิงรุกแบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาของพนักงานขายและบริการด้านโทรคมนาคม 2. แบบประเมินรูปแบบการฝึกอบรมเชิงรุกแบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาของพนักงานขายและบริการด้านโทรคมนาคม ซึ่งผ่านการประเมินความสอดคล้องโดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน โดยผลการพิจารณาแบบประเมินมีความสอดคล้อง ( =0.98, S.D.=0.01) สถิติที่ใช้วิเคราะห์แบบประเมินและรูปแบบ ประกอบไปด้วย ค่าความสอดคล้อง (IOC: Index of Item-Objective Congruence) ค่าเฉลี่ย ( x) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)


  โดยข้อสรุปที่ได้จากการศึกษาวิจัยนี้ คือ


  1. องค์ประกอบของรูปแบบการฝึกอบรมเชิงรุกแบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาของพนักงานขายและบริการด้านโทรคมนาคม ซึ่งประกอบไปด้วย 4 องค์ประกอบ คือ 1.1) บุคลากร ประกอบไปด้วย ผู้ฝึกอบรม และผู้รับการฝึกอบรม 1.2) เนื้อหาและกิจกรรม ซึ่งประกอบไปด้วย เนื้อหา ประเด็นปัญหา และกิจกรรมเชิงรุกแบบผสมผสานทั้งแบบเผชิญหน้าและออนไลน์ 1.3) ทรัพยากรเพื่อการเรียนรู้ ประกอบไปด้วย เครื่องมือ สถานที่ฝึกอบรม และสิ่งอำนวยความสะดวก และ 1.4) การประเมินผล ประกอบไปด้วย ผลสัมฤทธิ์ในการฝึกอบรม ความสามารถในการแก้ปัญหา และความคงทนในการฝึกอบรม

  2. ขั้นตอนในการฝึกอบรม ประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอน คือ 2.1) การสร้างทัศนคติที่ดีต่อปัญหา 2.2) การประเมินสถานการณ์และวิเคราะห์ปัญหา 2.3) การค้นหา เลือกและการดำเนินการแก้ปัญหา 2.4) การประเมิน ติดตามผล และการป้องกันปัญหา สำหรับผลการพิจารณาความสอดคล้องของรูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญ อยู่ในระดับมาก (x =5.08, S.D.=1.03)

 


        The purposes of this research were to develop a proactive training model with blended learning for enhancing problem-solving capabilities of Tele-sales and service provider. In this paper, be a part of all research processes. This model has been reviewed by 5 experts. The sample used in this research, drawn according to the purposive sampling. The research instruments are 1. Model of proactive training with blended learning for enhancing problem-solving capabilities of tele-sales and service provider 2. Evaluation form a proactive training with blended learning for enhancing problem-solving capabilities of Tele-sales and service provider that was conducted by 3 experts. The results of the evaluation form are consistent (x =0.98, S.D.=0.01). The statistics used for analysis an evaluation form and model of proactive training with blended learning for enhancing problem-solving capabilities of tele-sales and service provider by consistency value (IOC: Index of Item-Objective Congruence), mean and standard deviation       


               The results were shown as follows:


  1. Model of proactive training with blended learning for enhancing problem-solving capabilities of tele-sales and service provider Includes 4 elements as 1.1) Personnel includes instructor and learner 1.2) Contents and activity includes the contents, Problem issue and proactive blended learning activities on the both face-to-face and online training 1.3) Learning resources includes tools, training place and facilities 1.4) Evaluation by testing include the achievement of training, ability to solving and retention of training.

  2. Process of proactive training with blended learning for enhancing problem-solving capabilities of Tele-sales and service provider include 2.1) Creating a positive attitude toward the problem 2.2) Situational assessment and problem analysis 2.3) Find choice and implementation of the solution 2.4) Assessing, monitoring, and preventing problems. The results of the model's consistency review. Very high ( x =5.08, S.D.=1.03).

Article Details

Section
บทความ : มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ