การเรียนรู้โดยใช้แหล่งการเรียนรู้เป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงในศตวรรษที่ 21 (Resource-Based Learning for Development of Higher-Order Thinking Skills in 21st Century)

Main Article Content

สง่า วงค์ไชย (Sa-nga Wongchai)

Abstract

                การคิดขั้นสูงเป็นทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนที่มีทักษะการคิดขั้นสูงจะสามารถวิเคราะห์ วิจารณ์และตัดสินข้อมูลที่หลากหลาย และสรุปเป็นองค์ความรู้เพื่อนำไปใช้ดำเนินชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ในปัจจุบันการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงยังจำกัดเพียงนำแหล่งการเรียนรู้เฉพาะภายในสถานศึกษามาใช้จัดการเรียนการสอน จึงทำให้ผู้เรียนขาดการวิเคราะห์ การตัดสินและไตร่ตรอง และสร้างสรรค์ข้อมูลที่ได้รับ การเรียนรู้โดยใช้แหล่งการเรียนรู้เป็นฐาน (resources-based learning) เริ่มจาก 1) เลือกหัวข้อ 2) วางแผนและแก้ปัญหา 3) สืบค้นและรวบรวม 4) วิเคราะห์และไตร่ตรอง และ 5) สรุปผลและนำเสนอข้อมูล การจัดการเรียนรู้ตามขั้นตอนดังกล่าวจะช่วยพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงให้เกิดกับผู้เรียนได้ โดยการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สังเกต รวบรวม วิเคราะห์ และรวบรวมข้อมูล เพื่อนำไปไตร่ตรองและตัดสินข้อมูลก่อนจะนำไปใช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของแหล่งการเรียนรู้โดยเฉพาะเหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นและชุมชน เพื่ออนุรักษ์และรักษาไว้เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของคนไทยให้สืบไป


 


                 Higher-order thinking is a 21st century learning skill. Students with Higher-order thinking skills will be able to analyze, criticize, judge various information and summarize the knowledge to create or use in everyday life effectively. At present, the development of advanced thinking skills is limited to the use of learning resources within the institution for teaching and learning. The students do not have to analyze, criticize, evaluate and create data from many sources. Resources-based learning starting from 1) Selecting topics 2) Planning and solve problems 3) Searching and collecting data 4) Analyzing and pondering data and 5) Summarizing and applying and Resources-based Learning can be used to enhance students' higher-order thinking skills in analyzing and judgment information from many sources to ponder and judge information before it is used. Appropriately it also helps students to appreciate the value of learning resources, especially local and community learning resources to preserve the cultural heritage.

Article Details

Section
Humanities, Social Sciences, and Arts

References

เอกสารอ้างอิง
ภาษาไทย
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.. (2545). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
______. (2545). คู่มือพัฒนาสื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กิตติศักดิ์ ลักษณา. (2560). สังคมศึกษาในหลักสูตรมัธยมศึกษา 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ขวัญฤทัย เทศปั่น. (2549). “การพัฒนาตนเองจากแหล่งการเรียนรู้ของครูผู้สอนในโรงเรียนเอกชนเขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัย-รามคำแหง.
คณะกรรมการกรรมาธิการนานาชาติว่าด้วยการศึกษาในศตวรรษที่ 21. (2551). การเรียนรู้: ขุมทรัพย์ในตน = learning: the treasure within. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2558). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. นนทบุรี: พี บาลานซ์ดีไซด์แอนด์ปริ้นติ้ง.
ดำรง บุญชู. (2548). “การใช้ประโยชน์จากแหล่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา” วารสารวิชาการ 8 (1): 27-31.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2560). ทักษะ 7C ของครู 4.0. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์-มหาวิทยาลัย.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. (2558). ศาสตร์การคิด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2555). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
วัชรา เล่าเรียนดี, ปรณัฐ กิจรุ่งเรือง และอรพิณ ศิริสัมพันธ์. (2560). กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อพัฒนาการคิดและยกระดับคุณภาพการศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 21. นครปฐม: เพชรเกษมพริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด 2545.
สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). การปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561). กรุงเทพฯ: สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
สุมาลี สังข์ศรี. (2545). การเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประเทศไทย. นนทบุรี: มหาวิทยาลัย- สุโขทัยธรรมาธิราช.
สุมน อมรวิวัฒน์. (2544). กระบวนการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและธรรมชาติ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
สุรัสสา ทองฉาย. (2552). “สภาพปัจจุบันและปัญหาการพัฒนาตนเองจากแหล่งการเรียนรู้ของครูผู้สอนในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2.” วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยทักษิณ.
อุบล พงษ์พัฒน์. (2556). “ผลของการพัฒนาพฤติกรรมการแสวงหาและใช้ข้อมูลสารสนเทศจากแหล่งการเรียนรู้ท้องถิ่นของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ด้วยการสร้างสาเหตุทางจิตและทักษะที่เกี่ยวข้อง.” วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ภาษาต่างประเทศ
Anderson, L.W, Krathwohl, D.R., Airasian, P.W., Cruikshank, K.A., Mayer, R.E., Pintrich, P.R., Raths, J., & Wittrock, M.C. (2001). A taxonomy for learning, teaching, and assessing: A revision of Bloom’s Taxonomy of Educational Objectives (Complete edition). New York: Longman.
Conklin, W. (2012). Higher-order thinking skills to development 21st century learners. Huntington Beach: Shell Education.