การกลายเป็นคำไวยากรณ์ของ 個 e5 ในภาษาฮกเกี้ยนไต้หวัน (The Grammaticalization of 個 e5 in Taiwanese Hokkien)

Main Article Content

สิริวรรณ แซ่โง้ว (Siriwan Saengow)

Abstract

                บทความนี้มุ่งศึกษาการกลายหน้าที่ทางไวยากรณ์ของ 個 e5 ในฮกเกี้ยนไต้หวัน ผลการศึกษาพบว่า個 e5 กลายหน้าที่จากลักษณนามเป็นคำเสริมโครงสร้าง และกลายหน้าที่เป็นคำลงท้ายแสดงการยืนยัน ลักษณะการกลายหน้าที่ทางไวยากรณ์เป็นแบบทิศทางเดียว (unidrectionality) ผู้วิจัยไม่พบกระบวนการกลายหน้าที่จากคำไวยากรณ์เป็นคำเนื้อหา (degrammaticalization) ดังเช่นคำลักษณนาม 個 gai5 ในภาษาถิ่นโบราณทางใต้ของจีนอย่างภาษาแต้จิ๋วซึ่งกลายหน้าที่จากคำนิยมสรรพนามไปเป็นวิกตรรถกริยา


                    This paper aims to study the grammaticalization of 個 e5 in Taiwanese Hokkien. It is found that a classifier 個 e5 is grammaticalized to a structural particle and a final particle respectively, reflecting a unidirectionality in the grammaticalization process. It is not found that a degrammaticalization is involved in the process like the development of a demonstrative 個 gai5 to be a coupula verb in Teochew, an ancient Southern Chinese dialect.

Article Details

Section
บทความ : มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ