การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนเน้นความคิดสร้างสรรค์สำหรับ นักศึกษาปริญญาตรีวิชาความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ (The Development of Creativity Instructional Model for Undergraduate Students on Creative Design Course)

Main Article Content

บวร เครือรัตน์ (Bovan Krourat)
อโนมา ศิริพานิช (Anoma Siripanich)
ชัยวิชิต (Chaiwichit Chianchana)

Abstract

              งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินประสิทธิภาพรูปแบบการเรียนการสอนเน้นความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี วิชาความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ แบบประเมินประสิทธิภาพ แบบประเมินปฏิกิริยาตอบสนองของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนภายหลังการทดลองใช้  แบบประเมินพฤติกรรมด้านความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน หลังการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนฯ ที่พัฒนาขึ้นความต้องการจำเป็นในการจัดการเรียนการสอนเน้นความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี วิชาความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ และแบบทดสอบระดับความคิดสร้างสรรค์ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้สอนซึ่งปฏิบัติหน้าที่สอนวิชาความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ จำนวน 5 คน นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่เรียนวิชาความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ จำนวน 100 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์


               ผลการวิจัย พบว่า 1) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย หลักการ วัตถุประสงค์  กระบวนการจัดการเรียนการสอน 6 ขั้น ได้แก่ ขั้นสร้างแรงจูงใจ (Motivation Step) ขั้นสอน (Teaching Step) ขั้นสร้างสรรค์ผลงาน (Creative Step) ขั้นนำเสนอผลงาน (Presentation Step) ขั้นตรวจสอบ (Review Step) ขั้นสรุปและประเมินผล (Evaluation Step) จากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญ พบว่า มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ในการนำไปใช้สอนจริงได้ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ 2) ผลการประเมินประสิทธิภาพรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นโดยผู้สอน โดยใช้มาตรฐานการประเมินของ Stufflebeam and others (1981) พบว่า ประสิทธิภาพด้านความเป็นไปได้ (Feasibility) ด้านการนำไปใช้ประโยชน์ (Utility) ด้านความเหมาะสม (Propriety) และด้านความถูกต้อง (Accuracy) อยู่ในระดับมากทั้ง 4 ด้าน และผลการประเมินความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาด้วยแบบทดสอบระดับความคิดสร้างสรรค์พบว่า ความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01


 


                The objective of this research is to develop and evaluate the effectiveness of teaching and learning model, emphasizing on creative thinking for design subject offered to undergraduate students. Research and development methods are used in this current research. Research tools used in this research were evaluation forms, questionnaires and a creative level test. The target groups were five instructors who taught the creative thinking for design subject. The 100 first year students who studied creative thinking for design offered in semester 1, academic year 2017 by the Faculty of Architecture and Design Rajamangala University of Technology Rattanakosin.


               The results of the research were as follows: 1) the developed teaching-learning model consisted of principles, objectives, six steps of teaching and learning, namely Motivation Step, Teaching Step, Creative Step, Presentation Step, Review Step, Conclusion and Evaluation Step. The subject evaluation form by experts revealed that the proposed model was suitable and possible for teaching implementation at the highest level and 2) the results of the evaluation of teaching and learning model developed by the instructor based on Stufflebeam and others’ standard assessment (1981) shown that all aspects of evaluation were at a high level. The evaluation results of students' creativity by using the creative level test showed that the creative thinking level after the study was higher than that before learning at the statistical significance level of .01.  

Article Details

Section
Humanities, Social Sciences, and Arts

References

Lopaklak, K. (2007). khunnalaksana bandit thī phūprakō̜pkān tō̜ngkān. [Graduate qualifications that entrepreneurs want]. Business Administration Thesis Graduate Program in Business Administration Kasetsart University.
กฤตยา หล่อโสภาลักษณ์. (2550). คุณลักษณะบัณฑิตที่ผู้ประกอบการต้องการ. วิทยานิพนธ์ สาขาบริหารธุรกิจ โครงการบัณฑิตศึกษาสาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Boonlithisiri, B. (2017,Apr-Jun). “kānčhat kitčhakam kān rīanrū phư̄a phatthanā khwāmkhit sāngsan nai rāiwichā ʻō̜k bǣp”. [Organizing learning activities to develop creativity in design courses]. Journal of Education. 45: 59-71.
บุญชู บุญลิขิตศิริ. (เม.ย.-มิ.ย. 2560). “การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในรายวิชาออกแบบ.” วารสารครุศาสตร์. 45: 59-71.
Boy, D. and Goldenberg J. (2015). khit nai krō̜p. [Inside The Box]. Translated by Anchalee Victory Vijit. Bangkok: Publishing Company.
ดรูว์ บอย และ เจคอบ โกเดนเบิร์ก. คิดในกรอบ. (2558). แปลโดย อัญชลี ชัยชนะวิจิตร. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วีเลิร์น.
Chutakul, P. (2018,May - Aug.). “phon khō̜ng kānchai nǣokhit kān rīanrū dūai kānnam tonʻēng phư̄a phatthanā thaksa kān khit sāngsan samrap naksưksā radap parinyā trī nai kānčhat kitčhakam kān rīanrū dontrī”. [The effect of using self-directed learning concepts to develop creative skills for undergraduate students in organizing music learning activities]. Veridian e-journal. 11: 440-441.
ภัทรภร ผลิตากุล. (พ.ค.-ส.ค. 2561). “ผลของการใช้แนวคิดการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองเพื่อพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดนตรี.”Veridian e-journal. 11 : 440-441.
Dee, S. (2015, May-Aug). krabūankān phatthanā khwāmkhit sāngsan nai sathāban kānsưksā radap ʻudomsưksā thī mī ʻattalak chœ̄ng sāngsan. [The process of developing creativity in higher education institutions with creative identities]. Veridian e-journal. 8: 1357-1358.
สิริชัย ดีเลิศ. (พ.ค.-ส.ค. 2558). “กระบวนการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีอัตลักษณ์เชิงสร้างสรรค์.” Veridian e-journal. 8 : 1357-1358.
Duangphummet, W. and Kaeurai, W. (2017,Jul-Dec). “kānčhatkān rīanrū nai yuk thailǣn sī sū dūai kān rīanrū yāng Kratư̄rư̄ron”. [Learning management in the Thai 4.0 era with enthusiastic learning]. Journal of Humanities and Social Sciences. 11: 1-12.
วิทวัส ดวงภุมเมศ และ วารีรัตน์ แก้วอุไร. (ก.ค.-ธ.ค. 2560) . “การจัดการเรียนรู้ในยุคไทยแลนด์ 4.0 ด้วยการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 11 : 1-12.
Jinwan, W. (2011). rūpbǣp kān rīan kānsō̜n bon wep bǣp lot phāra thāng panyā dōi chai theknik kān kǣ panhā chœ̄ng sāngsan thī mī tō̜ kān rūkhit læ khwāmkhit sāngsan khō̜ng naksưksā radap parinyā trī. [Web-based model of cognitive burden reduction learning using creative problem solving techniques on cognitive and creative thinking of undergraduate students]. Thesis in Technological Studies Department of Education Technology, King Mongkut's University of Technology North Bangkok.
วิลาวัณย์ จินวรรณ. (2554). รูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบลดภาระทางปัญญาโดยใช้เทคนิคการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ที่มีต่อการรู้คิดและความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี.วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา ภาควิชาครุศาสตร์ เทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
Kanjanawasi, S. (2011). thritsadī kānpramœ̄n. [Assessment theory]. Type times 8. Bangkok: Chulalongkorn University Publishing House.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2554). ทฤษฎีการประเมิน. พิมพ์ครั้งที่ 8.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Khaemmanee, T. (2014). sāt kānsō̜n ʻongkhwāmrū phư̄a kānčhat krabūankān rīanrū thī mī prasitthiphāp. [The science of teaching knowledge for effective learning process management]. Type 18. Bangkok: Chulalongkorn University Publishing House.
ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 18. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Lertthewasiri, P. (2002). rūap botkhwām læ rāingān wičhai sāt hǣng kānʻō̜kbǣp. [Collect articles and research reports. The science of design]. Type 1. Bangkok: Chulalongkorn University.
พรเทพ เลิศเทวศิริ. (2545). รวบบทความและรายงานวิจัย ศาสตร์แห่งการออกแบบ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Lertthewasiri, P. (2004). kān khit ʻō̜k bǣp læ miti thāng watthanatham. [Design thinking and cultural dimensions]. Type 1. Bangkok: Chulalongkorn University.
พรเทพ เลิศเทวศิริ. (2547). การคิดออกแบบและมิติทางวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Lertthewasiri, P. (2017). ʻēkkasān prakō̜p kānsō̜n rāiwichā ʻō̜k bǣp phalittaphan ʻutsāhakam sō̜ng. [Teaching materials for industrial product design courses. 2. Bangkok: Industrial Product Design]. Rajamangala University of Technology Rattanakosin, Chulalongkorn University.
พรเทพ เลิศเทวศิริ. (2560). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 2. กรุงเทพฯ : สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Office of the Education Council. (2015). sathiti kānsưksā khō̜ng prathēt Thai pīkānsưksā sō̜ngphanhārō̜ihāsiphok-sō̜ngphanhārō̜ihāsipčhet. [Education Statistics of Thailand Academic Year 2013 – 2014]. Bangkok: Graphic Sweet Pepper.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2558). สถิติการศึกษาของประเทศไทย ปีการศึกษา 2556 - 2557. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค.
Office of the Education Council. (2015). rāingān phonkān pramœ̄n samatthana phūyai khō̜ng prathēt Thai pī sō̜ngphanhārō̜ihāsipčhet. [Thailand Performance Assessment Report 2014]. Bangkok: Office of Education Policy and Planning.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2558). รายงานผลการประเมินสมรรถนะผู้ใหญ่ของประเทศไทย ปี 2557. กรุงเทพฯ : สำนักงานนโยบายและแผนการศึกษา.
Office of the Education Council. (2012). rāingān kānwičhai rư̄ang kānbō̜rihān čhatkān sưksā phư̄a plīan phān sū sangkhom sētthakit thān khwāmrū læ chœ̄ng sāngsan. [Research report on Educational management for transitioning to a knowledge-based and creative economy society]. Bangkok. College of Innovation, Thammasat University: Graphic Sweet Pepper.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2555). รายงานการวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการศึกษาเพื่อเปลี่ยนผ่านสู่สังคมเศรษฐกิจฐานความรู้และเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ. วิทยาลัยนวัตกรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ : พริกหวานกราฟฟิค.
Piasiri, S. (2007). kānphatthanā laksūt fưk ʻoprom samrap naksưksā parinyā bandit dūai kitčhakam sinlapa phư̄a phatthanā khwāmkhit sāngsan læ thaksa kānphalit phonngān. [Development of training courses for graduate students with art activities to develop creativity and productive skills]. Thesis in Higher Education Department of Policy Management and Educational Leadership, Faculty of Education, Chulalongkorn University.
ศิริพงษ์ เพียศิริ. (2550). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมสำหรับนักศึกษาปริญญาบัณฑิตด้วยกิจกรรมศิลปะเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และทักษะการผลิตผลงาน. วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาอุดมศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Pornprasert, B. (1996). “kānsưksā prīapthīap khwāmkhit sāngsan khō̜ng dek pathommawai thī mī radap thaksa phư̄nthān kān sangkēt tāng kan thī dai rap kānsō̜n dōi chai kitčhakam sāngsan thāng rūpphāp kitčhakam sāngsan thāng sanyalak kitčhakam sāngsan thāng phāsā læ kitčhakam kān rīan kānsō̜n tām phǣn pakati”. [A comparative study of creative thinking of early childhood children with different levels of basic observation skills taught by using creative activities in images, symbolic creative activities. Language creative activities And teaching activities according to the normal plan]. Journal of Development Research. 24: 45-52.
บรรพต พรประเสริฐ. (2539). “การศึกษาเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยที่มีระดับทักษะพื้นฐานการสังเกตต่างกันที่ได้รับการสอนโดยใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ทางรูปภาพกิจกรรมสร้างสรรค์ทางสัญลักษณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ทางภาษา และกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนปกติ.” วารสารการวิจัยเพื่อการพัฒนา. 24: 45-52.
Sitharam, B. (2017, May-Aug). “nǣothāng kānsō̜n sinlapa tām nǣokhit satīma sưksā phư̄a songsœ̄m krabūankān sāngsan samrap nakrīan prathomsưksā pī thī hā.” [Guidelines for teaching art according to the concept of education to promote the creative process for grade 5. Students]. Veridian e-journal. 11: 775- 777.
บุญยนุช สิทธาจารย์. (พ.ค.-ส.ค. 2561). “แนวทางการสอนศิลปะตามแนวคิดสะตีมศึกษาเพื่อส่งเสริมกระบวนการสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5.” Veridian e-journal. 11 : 775-777.
Watchariyaphum, T. and Phiriyasurawong, P. (2015,Sep-Dec). “rūpbǣp kān rīan kānsō̜nphư̄a songsœ̄m khwāmkhit sāngsan nai satawat thī yīsipʻet.” [Teaching and Learning Styles to Promote Creativity in the 21st Century.] Panyapiwat Journal. 7: 292-300.
ธนะวัชร จริยะภูมิ และ พัลลภ พิริยะสุรวงศ์. (ก.ย.-ธ.ค. 2558) “รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ในศตวรรษที่ 21.” วารสารปัญญาภิวัฒน์. 7 : 292-300.
Wongvanich, S. (2007). kānwičhai pramœ̄n khwāmtō̜ngkān čhampen. [Research needs assessment]. Type 2. Bangkok: Plain Place.
สุวิมล ว่องวานิช. (2550). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ธรรมดาเพลส.

Guilford, J.P. (1968). The Nature of Human Intelligence. New York: McGraw-Hill Book.
Guzdial, M. (1998). Technological support for project-based learning. Association for Supervision and Curriculum[online]. Available from : https://www.vnweb.
hwwilsonweb.com/hww/login/jhtml.
Jeou-Shyan Horng & Yi-Chun Lee. (2009). What environmental factors influence creative culinary studies. Internation Journal of Contemporary Hospitality Management. Vol. 21 No.1
Kirkpatrick, Donald L. (1978). “Evaluating In – House Training Program” Training and Development Journal. 32 (September) : 6 – 9.
Osborn, Alex. (1957). Applied Imagination. New Yotk: Charles Scribners.
Perkins, D.N. (1984). “Creative by Design.” Educational Leadership 42: 18-25.
Reamsden,P. (2003). Learning to Teach in Higher Education. 2nd ed. London : Routledge Falmer.
Shiesinger, B.E. (1980). “I Teach Children to be Invantors.” Educational Leadership (April) : 572-573.
Stufflebeam, D.L., et al. (1971). Educational Evaluation and Decision-Making. Itasca, lllinois : Peacock Publishing.
Stufflebeam, D.L. (2001). Evaluation Models. San Francisco: Jossey-Bass.
Torrance, E.P. (1965). Rewarding Creative Behavior. Englewood Cliffs, Newjersey:Prentice-Hall.
Torrance, E.P. and Torrance J.P. (1973). Is crwative Teachable?. Indianapolis IN : Phi Delta Kappan.
Williams, F.E. (1970). Classroom Ideas for Encouraging Thinking and Feeling. New York:D.O.K. publishing.