การศึกษาปริมาณธาตุจากเขม่าปืนที่ติดอยู่บนถุงมือ ภายหลังจากการยิงปืนที่ระยะเวลาต่างกัน ด้วยเครื่อง SEM

Main Article Content

กำชัย ศรีธรรม

Abstract

บทคัดย่อ

            ภายหลังจากการยิงปืนจะเกิดคราบเขม่าปืน อันเกิดจาการรวมตัวกันของธาตุ Pb , Sb, Ba ซึ่งใช้เป็นหลักฐานในการตามหาผู้กระทำผิด เนื่องจากธาตุทั้ง 3 ชนิด จะอยู่ในแก๊ปปืน (Primer) อันเป็นส่วนประกอบของกระสุนปืน เมี่อเกิดการยิงปืนในส่วนนี้จะเกิดลุกไหม้ไปยังดินปืน ทำให้เกิดการระเบิด ที่อุณหภูมิสูงแตกต่างกัน  เกิดการรวมตัวของธาตุ  และใช้กล้องจุลทรรศน์ SEM  ในการตรวจสอบ จะปรากฎให้เห็นเป็นเม็ดอนุภาค

            การจัดเก็บคราบเขม่าปืน เพื่อทำการตรวจพิสูจน์ ด้วยชุด Stub ซึ่งเป็นแผ่นคาร์บอนกาวเหนียว ให้สัมผัสในตำแหน่งที่คราบเขม่าปืนจะปลิวไปติดภายหลังจากการยิงปืน เช่นหลังมือ แขน ใบหน้า หรือ เสื้อผ้าโดยปกติจะทำการจัดเก็บผู้ต้องสงสัย สำหรับคนเป็นไม่เกิน 12 ชั่วโมง และคนตายไม่เกิน 24 ชั่วโมง ทำให้หลายคดีที่ผ่านการยิงปืนมานาน ไม่ได้จัดเก็บวัตถุพยานมาเพื่อทำการตรวจพิสูจน์ ด้วยเข้าใจว่า อนุภาคของธาตุที่เกิดภายหลังจากการยิงปืน จะถูกทำลายไป

            การศึกษาครั้งนี้ ใช้กระสุน 3 ขนาด คือ 9 มม. , .45 และ กระสุนปืนลูกซอง ขนาด เกจ 12  และใช้ช่วงเวลาในการศึกษา คือ 1 เดือน , 6 เดือน และ 1 ปี เพื่อต้องการทราบว่า เวลาที่แตกต่างกันและขนาดของกระสุนปืน  จะมีผลต่อการตรวจพบอนุภาคของธาตุโลหะภายหลังจากการยิงปืน โดยการใช้กล้อง SEM  ในการตรวจพิสูจน์ 

 

Abstract

            Gun Shot Residues (GSR) particularly results from the discharging cartridge primer compound of firearm, composed of soot and major elements of Lead (Pb), Barium (Ba) and Antimony (Sb). Those three elements are significantly used as a forensic evidence in connecting the firearm to the culprits, establishing the identity of the shooter and in some cases may help in eliminating an innocent people from the scenes.  The commonly method used for the detection of the GSR particles is the Scanning Electron Microscope (SEM) with the advantage in able to reveal the actual morphology of the particles examined.    

            Since the Gunshot residue may be found on the skin or clothing of the person who fired the gun, from the entrance wound of a victim, or on other target materials at the scenes, the best and easiest method used to collect the GSR particles is an adhesive carbon lifter called STUB. The criteria necessary for reporting a positive GSR result recommended collecting within  12 hours for alive and within  24 hours for deceases.      

            This study determined whether the different of time duration and sizes of bullet effected to the analysis of GSR particle using SEM. In this study 3 sizes of bullets; 9 mm., .45 and shotgun bullet 12 gauge and 3 duration of the time; 1 year , 6 month and 1 month were used for the analysis.

Article Details

Section
บทความ