การพัฒนาผลการเรียนรู้และทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่จัดการเรียนรู้แบบโครงงาน

Main Article Content

จุไรรัตน์ ปึ้งผลพูล

Abstract

บทคัดย่อ

               การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง3(Experimental3Research)3มีวัตถุประสงค์เพื่อ  1)  เปรียบเทียบผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น  ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา    ปีที่ 5  ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน  2)  ศึกษาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่จัดการเรียนรู้แบบโครงงาน  3)  ศึกษาความสามารถในการทำโครงงานคณิตศาสตร์ของนักเรียน  ที่จัดการเรียนรู้แบบโครงงาน  4)  ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3  โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ  สตรีวิทยา   พุทธมณฑล  กรุงเทพมหานคร  ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1  ปีการศึกษา 2554  จำนวน 41 คน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย  แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นที่จัดการเรียนรู้แบบโครงงาน  แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น  แบบประเมินทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์  แบบประเมินความสามารถในการทำโครงงานคณิตศาสตร์และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อวิธีการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน  การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ()  ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน( S.D. )  การทดสอบค่าที3t-test แบบ3Dependent3ผลการวิจัยพบว่า 1)3ผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น  หลังเรียนสูงกว่าก่อนการเรียนรู้แบบโครงงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0132)3ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่จัด  การเรียนรู้แบบโครงงานโดยภาพรวมมีคุณภาพอยู่ในระดับสูง3เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า  มีคุณภาพ อยู่ในระดับสูงมากเรียงตามลำดับ  ดังนี้  การสื่อสารการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ และการให้เหตุผล  ส่วนด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  การแก้ปัญหาและการเชื่อมโยง3มีคุณภาพอยู่ในระดับสูง33)3ความสามารถในการทำโครงงานคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่จัดการเรียนรู้แบบโครงงานโดยภาพรวม3มีความสามารถอยู่ในระดับสูง3เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า3มีความสามารถอยู่ในระดับ  สูงมากเรียงตามลำดับ3ได้แก่3การวางแผนในการทำโครงงาน3การลงมือทำโครงงานและการนำเสนอผลงานส่วนด้านการเขียนรายงานและการเลือกหัวข้อเรื่องหรือปัญหาที่จะศึกษา3มีความสามารถอยู่ในระดับสูง และ  4)3ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน3โดยภาพรวม3นักเรียนพึงพอใจอยู่ในระดับมากทั้งสามด้าน3ได้แก่3ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการร่วมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้3ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และด้านบรรยากาศในการเรียนรู้

 

Abstract

               The purposes of this experimental research were to : 1) compare learning outcomes on principle data analysis of eleventh grade students taught by project-based learning, 2) study students’ mathematics process skills taught by project-based learning,       3) study students’ mathematical project construction ability, 4) study students’ opinions toward project-based learning. The sample group in this research were 41 eleventh grade students in class number 3 in the first semester of the academic year 2011 from Nawaminthrachinuthit Satriwitthaya Phutthamonthon school, Bangkok. The research instruments consisted of project-based learning lesson plans, the learning outcomes test on principle data analysis, an evaluation form of mathematics process skills, an evaluation form of ability of mathematical project construction and questionnaire on students’ satisfaction toward project-based learning. The data analysis employed by mean , standard deviation (S.D.) and dependent  t-test.

               The results of this research were as follow :

               1) The learning outcomes on principle data analysis average score after instruction were higher than before instruction being taught by project-based learning and statistically significant different at .01 level.

               2) The students’ mathematics process skills in overall were at a high level. Focusing on each aspect followed by mathematical communication and presentation and  reasoning were at the highest level but creative thinking, problem solving and connecting skills were at a high level.

               3) The students’ abilities on mathematical project construction in overall were at a high level. Focusing on each aspects followed by project planning, project working and project presentation were at the highest level but reporting aspect and selecting the topic on problem aspect were at a high level.

               4) The students’ opinions toward project-based learning in overall were at a high satisfaction level such as the benefit of working activities together aspect, the learning management aspect and the learning environment aspect.

Article Details

Section
บทความ : มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ