The signification approach of decorative contents on Western buildings in Siamese Ornament and Decorative art revolution; A.D.1876-1896

Main Article Content

Piti Maneenetra

Abstract

Abstract

               The purpose of the article is discuss and argue the signification of Siam ornament and decorative art on the western building as “cultural object” by structuralism semiotics approach. The criteria analytic to access the knowledge via theory of an educational system from the essence contents of design structure in Thai community during the western influenced had important roles in setting and creating this change of perception in term of decoration intellection.

               This study is qualitative research. The analysis study of the thought structural system was determined to study in the Siam western building where built 1876-1896. Aimed to study western building as a kind of material, not only creating beauty to the society, but also having signified of a key reflection of the mindset which helped illustrate the cognitive process, development of Siam decorative art paradigm, aesthetics and key variations to definite the Siamese’s elite characteristic decoration.

            Research methodology was semiotic approach that highlighted the importance of thoughts while growing up under the cognition process of the Siamese’s elite imprint to finding the motif and the criteria of elite’s decoration, which was core of Thai disciplinary in the period of multicultural study. True denoted meaning originated from the design itself, not from the interpretation or connoted meaning by the human. Thus, the relationships of all the signifiers within the structure of the western buildings had significance and reason; the design composition is explained in its own truth, which could be significantly understood through the semiotic structuralism discourse. Nevertheless, the outcome of the study is the body of 

knowledge of Neo-Siam decorative art paradigm and the manual for decoding signified in Italian and elite’s Ornament and Decorative Art.

              

Key word (s) : Ornament, Decorative art, Signification, Siam western building, Structuralism, Cultural object

 

บทคัดย่อ

            การศึกษากระบวนการสร้างความหมายของงานประดับตกแต่งที่เกิดขึ้นในอาคารตะวันตก ฐานะที่เป็น “วัตถุทางวัฒนธรรม” โดยวิธีการศึกษาจากระบบสัญญะด้วยทฤษฎีโครงสร้างนิยม การวิเคราะห์บรรทัดทางฐานความคิดเพื่อเข้าถึงองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องภายในโครงสร้างทางความหมายของงานประดับตกแต่งที่อยู่ในช่วงรอยต่อของการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ของชนชั้นนำในประเทศไทย พ.ศ. 2419-2475 ผลผลิตของวาทกรรมทางสังคมที่สะท้อน / อธิบาย กระบวนการและพัฒนาการทางความคิด / สุนทรียภาพ / รสนิยม กระบวนทัศน์ของชนขั้นนำในงานประดับตกแต่ง และปัจจัยสำคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภายในระบบความคิดของชนชั้นนำ วิเคราะห์ถึงความสำคัญของระบบความคิดที่ได้รับจากภาพประทับที่เกิดจากงานประดับตกแต่ง  เพื่อค้นหากฎเกณฑ์ ระบบ ระเบียบ หรือบรรทัดฐานต่างๆ ซึ่งตัวกำหนดที่ส่งผลต่อระบบคิด ภายในช่วงเวลาที่เกิดการผสมผสานทางศิลปวัฒนธรรมตะวันตกกับศิลปวัฒนธรรมแบบประเพณี งานวิจัยให้ความสำคัญต่อความหมายที่เกิดจากงานประดับตกแต่งเอง มิใช่ความหมายที่เกิดจากการบรรจุหรือเกิดจากการตีความของมนุษย์ ด้วยเหตุนี้เอง การศึกษาระบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบทางการประดับตกแต่ง หรือโครงสร้างทางความหมายของรูปสัญญะจึงมีความสำคัญ และเป็นสาระสำคัญของบทความนี้ ที่สามารถเข้าใจและอธิบายได้ด้วยกระบวนการทางสัญศาสตร์ ผลผลิตของงานวิจัยได้สร้างเครื่องมือวิเคราะห์ และสร้างองค์ความรู้สำหรับงานประดับตกแต่งแบบพหุวัฒนธรรมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงจากสังคมแบบจารีตไปสู่สังคมแบบศิวิไลซ์ คู่มือการถอดรหัสสัญลักษณ์ในงานตกแต่งเพื่อประโยชน์ต่อกระบวนการศึกษาและพัฒนางานทั้งในทางวิชาการและการพาณิชย์

Article Details

Section
บทความ : International