ผลการใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนที่ส่งผลต่อแรงจูงใจ ใฝ่สัมฤทธิ์ในการผลิตสื่อศิลปะสำหรับเด็ก

Main Article Content

ศิโรจน์ ศรีโกมลทิพย์
ศิวนิต อรรถวุฒิกุล

Abstract

บทคัดย่อ

            การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาผลการใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับการจัดการเรียนสอนในชั้นเรียนที่ส่งผลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการผลิตสื่อศิลปะสำหรับเด็กของนักศึกษาปริญญาตรี หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร 2) เพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนักศึกษาปริญญาตรี หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากรก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยสื่อมัลติมีเดียร่วมกับการจัดการเรียนสอนในชั้นเรียน 3) เพื่อศึกษาคะแนนผลงานการผลิตสื่อศิลปะสำหรับเด็กของนักศึกษาปริญญาตรี หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร และ4)  เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาปริญญาตรี หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากรที่มีต่อการใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับการจัดการเรียนสอนในชั้นเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาประถมศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ภาคเรียน ที่ 1  ปีการศึกษา 2556  จำนวน  20  คน โดยการเลือกแบบเจาะจง

            เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1)  แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 2)  แผนการจัดการเรียนรู้การผลิตสื่อมัลติมีเดียร่วมกับการจัดการเรียนสอนในชั้นเรียน 3) สื่อมัลติมีเดียร่วมกับการจัดการเรียนสอนในชั้นเรียน 4) แบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการผลิตสื่อศิลปะสำหรับเด็ก 5)  แบบประเมินผลงานการผลิตสื่อศิลปะสำหรับเด็ก6) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้สื่อมัลติมีเดีย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย () ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติทดสอบค่าที (t-test)

 

ผลการวิจัยพบว่า

               1.  ผลการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียร่วมกับการจัดการเรียนสอนในชั้นเรียนที่ส่งผลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการผลิตสื่อศิลปะสำหรับเด็กของนักศึกษาปริญญาตรี หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากรมีคุณภาพอยู่ในระดับมาก (= 4.27, S.D.= 0.50)

                    2.  ผลการเปรียบเทียบแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนักศึกษาปริญญาตรี หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากรก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยสื่อมัลติมีเดียร่วมกับการจัดการเรียนสอนในชั้นเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์เฉลี่ยหลังเรียน (= 93.25, S.D. = 10.82)           สูงกว่าแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ก่อนเรียน (= 74.60, S.D. = 7.84) ค่า t-test = 10.04

               3.  ผลการศึกษาคะแนนผลงานการผลิตสื่อศิลปะสำหรับเด็กของนักศึกษาปริญญาตรี หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร มีค่าโดยมีเฉลี่ย () = 2.13 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) = 0.47

               4.  ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาปริญญาตรี หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากรที่มีต่อการใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับการจัดการเรียนสอนในชั้นเรียน พบว่า ความพึงพอใจทั้งสามด้านอยู่ในระดับมาก (= 3.91, S.D.= 0.70)

 

Abstract

            The purposes of this research were 1) To develop Multimedia for completed learning affecting to achievement motivation in producing art media for the children of undergraduate.  The Faculty of Education, Silpakorn University 2) To compare the achievement motivation of undergraduate, The Faculty of Education, Silpakorn University before learning and after learning by Multimedia Using for completed learning  3) To study the results of the art media for children of undergraduate The Faculty of Education, Silpakorn University 4) To study the undergraduate satisfaction The Faculty of Education, Silpakorn University, to Multimedia Using for completed learning. The random sampling is the first year of the undergraduates the Faculty of Education, Primary, Silpakorn University the 1st semester year 2012 and collection.  The data from 20 students by purposively selected.

            The instruments of this research were 1) Interview 2) lesson plans of learning by using multimedia lessons with management classes taught in class 3) Multimedia lessons with in addition and subtraction of integer 4) A motive the tools used in this research were: 1) Interview 2) lesson plans and multimedia production with management classes taught in class 3) media with management classes taught in class 4) a motive. Achievement of media arts for children 5) evaluation of media arts for children 6) satisfaction of students with the use of multimedia. The statistics used for data analysis were mean, standard deviation (S.D.) and statistical t-test (t-test). The statistical analysis employed were mean, standard deviation and    t-test dependent.

The results of the research were as follows : the average () The standard deviation (S.D.) and t-test

           

 

            The results of this research were as follow:

                1.  The development of multimedia learning with classroom that affect motivation in producing art for the children of undergraduates. Bachelor of Education courses University quality at a high level

                2.  The motivation achievement post-test scores were higher than pre-test scores with the statistically significant level of .05

                3.  The study points to the use of new media for undergraduates. Bachelor of Education courses University finds that job evaluation. At a good level The average score was 27.93 points from the score of 30 points with a mean = 93.09 percent.

                4.  The study satisfaction of undergraduate students, Faculty of Education, Silpakorn University towards multimedia with management classes satisfaction on three sides is at a high level. ()= 3.91, S.D.= 0.70)


Article Details

Section
บทความ : มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ