การพัฒนาตัวบ่งชี้ทักษะการสร้างสัมพันธภาพในงานของบุคลากรรุ่นใหม่ เพื่อมุ่งกำหนดแผนปฏิบัติงานลดความขัดแย้งในองค์การทางธุรกิจ ที่มีความหลากหลายเชิงพหุวัฒนธรรม

Main Article Content

ทิวาวัฒน์ ธนาสนะ
ธีระวัฒน์ จันทึก
พิทักษ์ ศิริวงศ์

Abstract

          บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวโน้มและองค์ประกอบที่มีความจำเป็นต่อการสร้างสัมพันธภาพในงานของบุคลากรรุ่นใหม่เพื่อมุ่งกำหนดแผนปฏิบัติงานลดความขัดแย้งในองค์การทางธุรกิจที่มีความหลากหลายเชิงพหุวัฒนธรรม และเพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้ทักษะการสร้างสัมพันธภาพในงานของบุคลากรรุ่นใหม่เพื่อมุ่งกำหนดแผนปฏิบัติงานลดความขัดแย้งในองค์การทางธุรกิจที่มีความหลากหลายเชิงพหุวัฒนธรรมและ เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติงานของบุคลากรรุ่นใหม่เพื่อมุ่งกำหนดแผนปฏิบัติงานลดความขัดแย้งในองค์การทางธุรกิจที่มีความหลากหลายเชิงพหุวัฒนธรรมโดยใช้ระเบียบวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method) ด้วยการนำกระบวนการวิจัยในแบบเชิงปริมาณ(Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) เป็นเครื่องมือหลักในการทำวิจัย โดยได้แบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ตอน ได้แก่

          ตอนที่ 1 การวิจัยเอกสารที่มีความเชื่อมโยงด้านแนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาตัวบ่งชี้ทักษะการสร้างสัมพันธภาพในงานของบุคลากรรุ่นใหม่เพื่อมุ่งกำหนดแผนปฏิบัติงานลดความขัดแย้งในองค์การทางธุรกิจที่มีความหลากหลายเชิงพหุวัฒนธรรมโดชใช้เทคนิคการวิจัยในอนาคต EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) โดยการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 17 คน

          ตอนที่ 2 การวิเคราะห์องค์ประกอบแบบเชิงยืนยัน CFA (Confirmatory Factor Analysis) ของการพัฒนาตัวบ่งชี้ทักษะการสร้างสัมพันธภาพในงานของบุคลากรรุ่นใหม่นำมาจัดทำแผนปฏิบัติงานลดความขัดแย้งในองค์การทางธุรกิจที่มีความหลากหลายเชิงพหุวัฒนธรรม

          ตอนที่ 3 จัดทำแผนปฏิบัติงานโดยผู้วิจัยมีส่วนร่วม PAR (Participatory Action Research)               การพัฒนาตัวบ่งชี้ทักษะการสร้างสัมพันธภาพในงานของบุคลากรรุ่นใหม่เพื่อมุ่งกำหนดแผนปฏิบัติงานลดความขัดแย้งในองค์การทางธุรกิจที่มีความหลากหลายเชิงพหุวัฒนธรรม


          The purposes of this study were to 1) examine composition that necessary effected to created relativity for new generation enhance for operation plan reducing conflict in business at diversity cultural 2) develop relativity for new generation enhance for operation plan reducing conflict in business at diversity cultural 3) Preparing plan for development indicator to create relativity for new generation enhance for operation plan reducing conflict in business at diversity cultural .The research methodology were intergrade Mixed Methodology between Quantitative research and Qualitative research consists of 3 parts.

           Part 1 Concerned with secondary sources by consolidate an information in order to examine major and minor composition of The development indicator to create relativity for new generation enhance for operation plan reducing conflict in business at diversity cultural and conducted future research by using EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) made as a research tools by interviewing 17

           Part 2 Analyzed composition of The development indicator to create relativity for new generation enhance for operation plan reducing conflict in business at diversity cultural by using CFA (Confirmatory Factor Analysis)

           Part 3 Implemented the operation plan reducing conflict in business at diversity cultural  by using PAR (Participatory Action Research) 


Article Details

Section
บทความ : มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ