ความคิดเห็นของเกษตรกรที่มีต่อการป้องกันกำจัดหนอนหัวดำมะพร้าวในมะพร้าว ด้วยวิธีผสมผสาน จังหวัดฉะเชิงเทรา

Main Article Content

วรรณพร อยู่มั่นคง
สุพัตรา ศรีสุวรรณ

บทคัดย่อ

The objectives of this research were1) to study personal factors, socio-economic factors, media
information exposure on the prevention coconut black-headed caterpillar by integrated method and
knowledge on prevention coconut black-headed caterpillar by integrated method 2) to study farmers’
opinions on the prevention coconut black-headed caterpillar by integrated method 3) to seek the
relationship between knowledge and farmers’ opinions on the prevention coconut black-headed
caterpillar by integrated method. The sample of this study were 169 people. Data collected by face to face
interview. Statistical analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, minimum,
maximum, and Pearson’s correlation. The research finding revealed that the farmers were female 54.4  percent, the average age at 57.82 years old, The education was primary school 46.2 percent, the average
income from farming was 104,692.31 baht, the average farming expenses was 24,543.79 baht, had 26.56
years of experience in farm, the average agricultural area was 8.50 rai, the average number of labors was
2.05 people. Media information exposure of farmers through a training 68.0 percent, observation
46.7 percent, brochure and poster 62.1 percent. Knowledge on the prevention coconut black-headed
caterpillar by integrated method was at high levels 75.7 percent. Farmers’ opinions on the prevention
coconut black-headed caterpillar by integrated method for overall had the average at high levels average
3.76. The result from the hypothesis investigation found out the knowledge on prevention coconut
black-headed caterpillar by integrated method related to the opinion on prevention coconut black-headed
caterpillar by integrated method had a significantly level of 0.01.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมส่งเสริมการเกษตร. 2557. การปลูกมะพร้าวและการควบคุมศัตรูมะพร้าว. กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรุงเทพมหานคร. 46 น.
กรมส่งเสริมการเกษตร. 2560. คู่มือโครงการป้องกันกำจัดศัตรูมะพร้าว (หนอนหวั ดำมะพร้าว) ด้วยวิธีผสมผสานแบบครอบคลมุพื้นที่โดยการมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน.กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพมหานคร: นิวธรรมดาการพิมพ์ (ประเทศไทย) จำกัด. 80 น.
กิติคุณ บุญทะนุวัง. 2552. ความคิดเห็นของเกษตรกรต่อการผลิตผักปลอดภัยของศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน. วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมการเกษตร). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
จุพามาศ กรีพานิช. 2556. การพัฒนาชุดสื่อสำหรับถ่ายทอดเทคโนโลยีป้องกันกำจัดหนอนหัวดำมะพร้าวในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมการเกษตร). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ธิดารัตน์ กลิ่นหอม. 2556. การใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในอำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมการเกษตร). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นิภาดา เจริญธนกิจกุล. 2557. แนวทางการส่งเสริมการผลิตมะพร้าวอ่อนของเกษตรกร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์ ปริญญาเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมการเกษตร). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ปัญญา แหลมเจริญพงศ์. 2557. ความคิดเห็นที่มีต่อการใช้เชื้อราบิวเวอเรียควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในนาข้าวของเกษตรกร อำเภอบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมการเกษตร). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุรินทร์ นิยมางกูร. 2556. ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์และสถิติที่ใช้. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ฐานบัณฑิต. 280 น.
สำนักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา. 2560 ก. ข้อมูลการปลูกพืชเศรษฐกิจที่สำคัญจังหวัดฉะเชิงเทรา ปี 2559/2560. กลุ่มยุทธศาสตร์ และสารสนเทศสำนักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา. 1-2.
สำนักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา. 2560ข. ข้อมูลสำรวจการระบาดของหนอนหัวดำมะพร้าว. กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตร จังหวัดฉะเชิงเทรา. 1-2.
สำนักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา. 2560ค. รายชื่อเกษตรกรผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการการป้องกันกำจัดศัตรูมะพร้าว (หนอนหัวดำมะพร้าว) ด้วยวิธีผสมผสานแบบครอบคลุมพื้นที่ จังหวัดฉะเชิงเทรา. กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา. 1-15.
สำนักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา. 2560ง. เอกสารประกอบการอบรมการป้องกันกำจัดศัตรูมะพร้าว (หนอนหัวดำมะพร้าว) ด้วยวิธีผสมผสาน. กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา, ฉะเชิงเทรา. 40 น.
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2560. สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2559. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพมหานคร. 206 น.
อาลีวรรณ เวชกิจ. 2555. การผลิตมะพร้าวของเกษตรกรในอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ปริญญาเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมการเกษตร). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.