การจำแนกชนิดและทดสอบการก่อโรคของเชื้อราสาเหตุโรคหัวและลำต้นเน่ามันสำปะหลัง

Main Article Content

พรปวีณ์ ธิวัฒน์วรานิกุล
ภานุวัฒน์ มูลจันทะ
วรรณวิไล อินทนู
จินตนา อันอาตม์งาม

บทคัดย่อ

โรคหัวเและลำต้นเน่ามันสำปะหลังเป็นโรคที่สำคัญต่อการปลูกมันสำปะหลังของประเทศไทย เกิดจากเชื้อ
ราสาเหตุหลายชนิด ได้แก่ Phytophthora palmivora, P. melonis, P. meadii, Pythium spp., Fusarium solani,
F. oxysporum และ Neoscytalidium hyalinum อย่างไรก็ตามข้อมูลเกี่ยวกับเชื้อราสาเหตุและการก่อให้เกิดโรคใน
พื้นที่ปลูกที่สำคัญของประเทศไทยยังมีอยู่จำกัดการศึกษาครั้งนี้ได้เก็บรวบรวมตัวอย่างดินและมันสำปะหลังที่เป็นโรค
หัวและลำต้นเน่าจากแหล่งปลูกมันสำปะหลังที่สำคัญในจังหวัดนครราชสีมา ระยอง และตากและนำมาแยกเชื้อด้วย
วิธี Tissue transplanting method และ Baiting technique ศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา พบว่าสามารถจำแนก
เชื้อราได้ทั้งหมด 3 สกุล จาก 16 ไอโซเลท และผลจากการวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์บริเวณ ITS rDNA สามารถ
จำแนกเชื้อรา Pythium spp. (P. acanthicum และ P. graminicola) เชื้อรา F. solani และเชื้อรา N. hyalinum เมื่อ
นำเชื้อราทั้ง 3 สกุลนี้ไปทดสอบโรคกับมันสำปะหลังจำนวน 8 พันธุ์ พบว่าเชื้อรา F. solani และ N. hyalinum ก่อให้
เกิดโรคและทำให้ต้นมันสำปะหลังตาย ในขณะที่เชื้อรา Pythium spp. ที่แยกจากดินไม่ก่อให้เกิดโรค ผลที่ได้จากการ
ศึกษานี้เป็นประโยชน์ต่อการวางแผนการจัดการโรคและการปรับปรุงพันธุ์ต้านทานโรค

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ทวี เก่าศิริ. 2549. หน่วยที่ 10 ตอนที่ 10.1.1 ราสาเหตุโรคพืชที่สำคัญ. เอกสารประกอบการเรียนการสอนชุดวิชา ศัตรูพืชเบื้องต้น
(Introduction to crop pests). หน่วยที่ 8-15. 10-8 - 10-22 น.
เทิดศักดิ์ สวัสดิ์สุข. 2560. การจำแนกลักษณะทางพันธุกรรมและการแปรปรวนของเชื้อราก่อโรคเมล็ดด่างข้าวในประเทศไทวิทยานิพนธ์
มหาบัณฑิต. ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. นครปฐม. 175 น.
เบญจพล ศรีทองคำ. 2558. ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของเชื้อรา Fusarium species โดยอาศัยลักษณะทางสัณฐานวิทยาและข้อมูล
อณูชีวโมเลกุล. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. นครปฐม. 134 น.
ศานิต สวัสดิกาญจน์. 2557. มันสำปะหลังในพืชอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ. 1-162 น.
สุทธิสา ดัชนีย์. 2558. การระบุเชื้อราสาเหตุโรคต้นและรากเน่าดำของมันสำปะหลัง. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์
มหาบัณฑิตสาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช. มหาวิทยลัยเทคโนโลยสุรนารี. 129 น.
Bandyopadhyay, R., M. Mwangi, S.O. Aigbe and J.F. Leslie. 2006. Fusarium species from the cassava root rot complex in
West Africa. Phytopathology. 96: 673–676 p.
Charaensatapon, R., T. Saelee, U. Chulkod and S. Cheadchoo. 2014. Phytophthora Root and Tuber of cassava in Thailand.
Field and renewable energy crops research institute. Department of agriculture, Thailand, In Proceedings of 5th Asian
Conference on Plant Pathology. Chiang Mai, Thailand, 3-6 November.
Dianese, J. C., M. C. G. Dristig, and A. P. Cruzc. 1990. Susceptibility to wilt associated with Pseudomonas solanacearum
among six species of Eucalyptus growing in equatorial Brazil. Australasian Plant Pathology. 19(3): 71-76 p.
Guo, H., C.P. Li., T.C. Shi, J. Fan and G.X. Huang. 2012. First report of Phytophthora palmivora causing root rot of cassava
in China. The American Phytopathological Society. v.96. n.7. 1072 p.
Machado, A.R., D.B. Pinho, S.A.S. Oliveira and O.L. Pereira. 2014. New occurrences of Botryosphaeriaceae causing black
root rot of cassava in Brazil. Tropical Plant Pathology. 39(6): 464-470 p.
Matsumoto, C., K. Kageyama, H. Suga and M. Hyakumachi. 1999. Phylogenetic relationships of Pythium species based on
ITS and 5.8S sequences of the ribosomal DNA. Mycoscience. 40(4): 321-331 p.
Pornsuriya, C., H.K. Wang, F.C. Lin, and K. Soytong. 2008. First report of pineapple root rot caused by Pythium
graminicola. Journal of Agricultural Technology. 4(1): 139-150 p.
Vilas Boas, A.S., S.A.S. Oliveira, C.A.D. Braganca, J.B. Ramos and J. Oliveira Eder. 2016. Survey of fungi associated with
the cassava root rot from different producing regions in Brazil. Scientia Agricola. 74: 60–67 p.
Watanabe, H., K. Kageyama, Y. Taguchi, H. Horinouchi and M. Hyakumachi. 2008. Bait method to detect Pythium
speciesthat grow at high temperatures in hydroponic solutions. Journal of General Plant Pathology. 74(6): 417-424 p.
White, T. J., Bruns, T., Lee, S. J. W. T., and Taylor, J. L. 1990. Amplification and direct sequencing of fungal ribosomal RNA
genes for phylogenetics. PCR protocols: a guide to methods and applications. 18(1): 315-322.
Worapong, J. 2002. Isolation and Characterization of Root Rot Pathogens on Cassava (Manihot esculenta) in Nakorn
Rachasima and Rayong. The 3rd Conference on Starch Technology. 435 p.
Zhang, X. Y., J. Hu, H. Y. Zhou, J. J. Hao, Y. F. Xue, H. Chen and B. G. Wang. 2014. First report of Fusarium oxysporum
and F. solani causing Fusarium dry rot of carrot in China. Plant Disease. 98(9): 1273-1273 p.