พลวัตสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ กรณีศึกษากลุ่มไทใหญ่ในอำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอนและกลุ่มกะเหรี่ยงในพื้นที่พักพิงชั่วคราวแม่หละ จังหวัดตาก

ผู้แต่ง

  • ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี

คำสำคัญ:

Dynamic, vernacular architecture, Tai Yai, Karen, borderlands, พลวัต, สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น, ไทใหญ่, กะเหรี่ยง, พื้นที่ชายแดน

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
บทความนี้ถกประเด็นเกี่ยวกับพลวัตสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นผ่านสองกรณีศึกษาวิจัย คือ กลุ่มไทใหญ่ในอ????ำเภอ
ขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน และกลุ่มกะเหรี่ยงในพื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านแม่หละ จังหวัดตาก เพื่อสังเคราะห์ผลวิจัย
ทั้งสองกรณีในประเด็นเกี่ยวกับพลวัตของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นภายใต้บริบทและปัจจัยร่วมของสภาพแวดล้อม
ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรมของสองกลุ่มชาติพันธุ์ ผลการสังเคราะห์ทั้งสองกรณีศึกษาชี้ให้เห็นถึง
ความสัมพันธ์ระหว่างสถาปัตยกรรมกับพหุปัจจัยที่เกี่ยวเนื่องกับการอพยพย้ายถิ่นฐาน ตลอดจนบริบททั้งภายในและ
ภายนอกของกลุ่มชาติพันธุ์ไทใหญ่และกะเหรี่ยงที่อพยพมาอาศัยในประเทศไทย ตลอดจนความสัมพันธ์สองทางระหว่าง
มนุษย์กับสภาพแวดล้อมอันเป็นกระบวนการปรับตัวที่ต่อเนื่องของมนุษย์ด้วย

 

ABSTRACT
This paper discusses the dynamic of vernacular architecture in two case studies including
Tai Yai in Amphur Khun Yuam, Mae Hong Son Province and Karen in Maela Refugee Camp. The aim of this paper is to synthesize the research findings from two case studies in relation to the concept of dynamic of vernacular architecture under the diverse contexts and factors on ethnic groups including environment, geography, history, society and culture. The synthesis points out the interrelationships between architecture and internal/external migration factors of Tai Yai and Karen ethnic groups who migrated to Thailand as well as the dialectic relationship between man and environment. These relationships are a continuing process of human adaptation to environment that are becoming a research focus in multidisciplinary study.

Author Biography

ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี

อาจารย์ประจ????ำ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
E-mail: [email protected]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-07-01