การจัดวางพื้นที่ ลำดับศักดิ์ และการวางทิศในเรือนพื้นถิ่นไทขืน เมืองเชียงตุง รัฐฉาน เมียนมา Spatial Organization, Hierarchy of Space and Orientation in Traditional Tai Khoen Dwelling House: Keng Tung, Shan State Myanmar

ผู้แต่ง

  • เกรียงไกร เกิดศิริ
  • สิริชัย ร้อยเที่ยง

คำสำคัญ:

Tai Khoen, Vernacular Dwelling House, Spatial Organization, Hierarchy of Space, Orientation, ไทขืน, เรือนพื้นถิ่นที่อยู่อาศัย, การจัดวางพื้นที่, ลำดับการเข้าถึง, การวางทิศ

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การศึกษานี้เป็นการสังเคราะห์ความเหมือนและความต่างของพื้นที่ว่างภายในเรือนไทขืนแบบประเพณี
ในประเด็นเรื่องล????ำดับการจัดวางพื้นที่ใช้สอยในเรือน การเชื่อมต่อของพื้นที่ และการวางทิศ โดยคัดเลือกชุมชนกรณี
ศึกษาต่างบริบทแวดล้อม 3 โดยสรุปผลการศึกษาได้ดังนี้


ประเด็นที่ 1 “ล????ำดับการจัดวางพื้นที่ภายในเรือน (Spatial Organization)” สรุปได้ว่า การจัดวางล????ำดับ
ของการเข้าถึงพื้นที่ประเภทต่างๆ ของเรือนในชมุ ชนชนบทมีความซับซ้อนกว่าเรือนที่อย่ใู นชุมชนที่มคี วามสัมพนั ธก์ บั ความเป็นเมือง กล่าวคือ มีล????ำดับการเข้าถึงพื้นที่ลึกสูงสุด 5 ล????ำดับ ในขณะที่เรือนในบริบทที่มีความสัมพันธ์กับความ เป็นเมืองมีล????ำดับการเข้าถึงพื้นที่ลึกสูงสุดเพียง 4 ล????ำดับ ซึ่งสัมพันธ์กับมิติทางสังคมวัฒนธรรมและบริบทแวดล้อมของ ชุมชนชนบทที่มีคุณลักษณะที่ต้องการความเป็นส่วนตัว (Sense of Privacy) หรือมีส????ำนึกเรื่องการป้องกัน (Defensive) มากกกว่าเรือนของชุมชนในบริบทเมือง


ประเด็นที่ 2 คือ “ล????ำดับศักดิ์ หรือล????ำดับการเชื่อมต่อของพื้นที่ภายในเรือน” สรุปได้ว่า การเชื่อมต่อระหว่าง
พื้นที่ประเภทต่างๆ ภายในเรือนกรณีศึกษาที่ตั้งอยู่ในชุมชนชนบทจะมีการเชื่อมต่อในลักษณะพุ่ม (Bush) มากกว่า
เรือนกรณีศึกษาในชุมชนที่สัมพันธ์กับบริบทความเป็นเมืองซึ่งจะเห็นได้ว่ามีการกระจายแบบเป็นล????ำดับลึกเข้าไปแล้ว
ค่อยแตกแขนงออกเชื่อมต่อไปยังพื้นที่ส่วนต่างๆ นอกจากนี้ การเชื่อมต่อของพื้นที่ในเรือนกรณีศึกษาของชุมชนชนบท
ยังพบมีเส้นทางลัดจากพื้นที่หนึ่งเข้าถึงพื้นที่หนึ่งอย่างซับซ้อนกว่า อันแสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตภายในเรือนที่มีความซับ
ซ้อนมากกกว่าวิถีชีวิตของผู้อยู่อาศัยในเรือนในชุมชนที่มีความสัมพันธ์กับความเป็นเมือง

ประเด็นที่ 3 คือ “การวางทิศทางของเรือน” สรุปได้ว่า ชุมชนในบริบทดั้งเดิมจะให้ความส????ำคัญกับการวาง
ทิศที่สัมพันธ์กับทิศตะวันออกทั้งในการเข้าถึงตัวเรือน และทิศทางการนอน ทว่าปัจจัยทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่ที่ตั้ง
ชุมชนนั้นเป็นปัจจัยจ????ำกัดส????ำคัญที่จะท????ำให้สามารถวางทิศทางสัมพันธ์กับทิศตะวันออกได้หรือไม่ด้วยเช่นกัน

 

ทั้งนี้ ข้อค้นพบดังกล่าวมาข้างต้นนั้นสอดคล้องกับแนวความคิดของ Amos Rapoport ที่ในงานชิ้นนี้ได้น????ำ
มาประยุกต์ใช้เป็นกรอบความคิดในการศึกษา ซึ่งได้ให้ข้อเสนอว่าตัวแปรที่จะท????ำให้คุณลักษณะของพื้นที่เหมือนหรือ
ต่างกันอยู่ที่ “ปัจจัยทางสังคมวัฒนธรรม และบริบทแวดล้อมของท????ำเลที่ตั้งของชุมชน” เป็นส????ำคัญ

 

ABSTRACT
This study purpose is to synthesis the difference of space and Orientation in Tai Khoen Dwelling
House in the issue of spatial organization, useful space in dwelling house, area connection and orientation
by selecting 3 different contexts from different communities. These are 3 topics of study conclusion
Topic 1 “Spatial Organization” by conclusion, Spatial Organization of houses in ruler
communities are more complicated than houses in communities which relate to the city. The
Spatial Organization of houses in ruler communities can approach in liner 5 organizations in the
other hand, houses in communities which relate to the city can approach in liner only 4 organizations.
This is related with social dimension that the house of ruler community require sense of privacy or
defensive sense more than house of city community.
Topic 2 “Hierarchy of space” by conclusion, the connection between many different areas
inside case study houses which are located in ruler communities, are connected in Bruch form more
than case study houses which are related with city communities. In contrast, the houses which are
related with city communities are spread into the liner form then brunch out to connect other
areas. In addition, the connection of areas of study houses in ruler communities were found more
complicated shortcuts from one area to another area in a house than the study houses in city
communities. This conclusion referred that the way of life of ruler communities in their house is
more complicated than communities which are related to the city.
Topic 3 “Orientation” by conclusion, communities in traditional context give priority to orientation
which relates to the East of a house and Hunch Bearings. However, from Geography factor of community
site is one of the limited factor which influences the orientation to relate with the East as well.
As described earlier, it conforms with Amos Rapoport concept that was adapted to be
ideal concept in this study. From counsel, a variable that makes the attribute of different area,
depends on “Social and cultural factors and context environment of community location”

 

Author Biographies

เกรียงไกร เกิดศิริ

อาจารย์ประจ????ำ ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
E-mail: [email protected]

สิริชัย ร้อยเที่ยง

นักศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ศิลปากร
E-mail: [email protected]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-07-01