การศึกษาอัตลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมของชุมชนริมน้ำจันทบูร เพื่อเป็นแนวทางการออกแบบสภาพแวดล้อมภายในร้านค้า A Study on the Architectural Identity of the Chanthaboon Waterfront Community for Store Interior Environment Design Guideline

ผู้แต่ง

  • ปุณยนุชวิภา เสนคำ
  • เอกพล สิระชัยนันท์

คำสำคัญ:

Chanthaboon Waterfront Community, Architecture, Place Identity, Perception, Interior Design, ชุมชนริมน้ำจันทบูร, สถาปัตยกรรม, อัตลักษณ์, การรับรู้, การออกแบบภายใน

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอัตลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมของชุมชนริมน้????ำจันทบูร โดยศึกษา
รูปแบบสถาปัตยกรรมที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น รวมทั้งการศึกษาพฤติกรรมการรับรู้ภายใต้กรอบแนวคิด อัตลักษณ์สถานที่
(Place -Identity) โดยการเก็บข้อมูลภาคเอกสารการทบทวนวรรณกรรมและภาคสนาม จากการส????ำรวจ การสัมภาษณ์
แบบมีโครงสร้าง และท????ำแบบสอบถาม โดยก????ำหนดองค์ประกอบทางกายภาพของรูปแบบสถาปัตยกรรมเพื่อท????ำการ
ศึกษา ไดแ้ ก่ ลกั ษณะลวดลาย วัสดุทีใ่ ช้ โทนสีทีใ่ ช้ และรูปแบบอาคาร กลมุ่ เปา้ หมายในการศกึ ษาคอื กลมุ่ อาคารสมบตั ิ
ริมน????้ำ กลุ่มผู้ประกอบการอาวุโส และกลุ่มนักท่องเที่ยววัยผู้ใหญ่ตอนต้น ซึ่งผลที่ได้ที่จะน????ำไปสู่แนวทางการออกแบบ
สภาพแวดล้อมภายในร้านค้าเพื่อส่งเสริมอัตลักษณ์ทางสถาปัตยกรรม ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1) ลักษณะลวดลาย
ควรใช้ ลวดลายธรรมชาติ เช่น ลวดลายขนมปังขิง ลวดลายเถาดอกไม้ ลวดลายของล????ำแสงพระอาทิตย์ และลวดลาย
เรขาคณิต เช่น ตารางสี่เหลี่ยม ตารางแบบไขว้ ลวดลายโค้ง (Arch) 2) ลักษณะโทนสี ควรเป็นสีที่แสดงถึงเนื้อแท้ของ
วัสดุที่มีความซีดจาง 3) ประเภทของวัสดุ เป็นวัสดุธรรมชาติที่ไม่ผ่านการปรุงแต่ง และ 4) รูปแบบอาคาร ควรเป็น
รูปแบบสถาปัตยกรรมโคโลเนียลหรือสถาปัตยกรรมชิโนโปร-ตุกีส

 

ABSTRACT
This study aims to examine two main aspects of architectural identity of the Chanthaboon
waterfront community: its unique architecture and local people’s perception of that identity. The
research tools comprise a literature review, field studies, a physical survey, structured-interviews
and questionnaires. The scope of the study includes architectural designs, materials, colors used
and the atmosphere created by the buildings’ physical appearance. The targets of the study

included buildings by the Chanthaburi River, senior shop owners and tourists. There are four main
suggestions resulting from the study as follows; first, natural patterns such as gingerbread or delicate,
flower vine pattern, sunbeams pattern and geometric patterns, such as rectangular square, crossover
square and arch should be incorporated into interior designs. Secondly, original colors and tones of
materials should be retained. Thirdly, natural materials and texture should be preserved as much
as possible. Finally, the style of the shops should reflect the Colonial or Sino-Portuguese style of
old local community shops. The research results can be employed in guidelines for interior design
to help promote the identity of the Chanthaboon Waterfront Community.

Author Biographies

ปุณยนุชวิภา เสนคำ

นักศึกษาหลักสูตรระดับมหาบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
E-mail: [email protected]

เอกพล สิระชัยนันท์

อาจารย์ประจ????ำ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-07-01