ภูมิทัศน์พื้นถิ่นของชุมชนบ้านหัวนาไทย ตำบาล หนองคูขาด อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม - Vernacular Landscape of Ban Hua Na Thai Village,Kukad Sub-district, Borabue District, Maha Sarakham

ผู้แต่ง

  • อำภา บัวระภา

คำสำคัญ:

Vernacular Landscape, Vernacular Architecture, Cultural landscape, ภูมิทัศน์พื้นถิ่น, สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น, ภูมิทัศน์วัฒนธรรม

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การศึกษาภูมิทัศน์พื้นถิ่นของชุมชนบ้านหัวนาไทย ต????ำบลหนองคูขาด อ????ำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
มีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษาความเป็นมาและรูปแบบการตั้งถิ่นฐาน ตลอดจนประเพณีที่ส????ำคัญของชุมชนบ้านหัวนาไทย
(2) ส????ำรวจพื้นที่เพื่อวิเคราะห์หาอัตลักษณ์ภูมิทัศน์พื้นถิ่นของบ้านหัวนาไทย ผลการศึกษาพบว่า ประเพณีการสรงกู่ที่
สืบทอดมากว่า 100 ปี เป็นส่วนส????ำคัญในการอนุรักษ์พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์คือ “กู่บ้านหัวนาไทย” ซึ่งเป็นพื้นที่รวมคติความ
เชื่อของพราหมณ์ ผี และพุทธ ส่วนภูมิทัศน์พื้นถิ่นที่ส????ำคัญของบ้านหัวนาไทย คือ (1) รูปแบบการวางผังของหมู่บ้าน
การกระจายตัวเป็นวงกลม ล้อมรอบด้วยพื้นที่เกษตรกรรม และกู่บ้านหัวนาไทย (2) การจัดสรรพื้นที่รอบชุมชนและ
ภายในบริเวณที่อยู่อาศัยโดยการใช้ไม้พื้นถิ่น ไม้ผล การปลูกพืชผักสวนครัวและเลี้ยงสัตว์สลับกัน (3) รูปแบบ
“บ้านเรือนที่อยู่อาศัย” เป็นเรือนไม้ยกสูงมีความโดดเด่นของรายละเอียดและการตกแต่งอาคาร เช่น ช่องลม
ราวระเบียง และ (4) สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นกับการด????ำรงชีวิต เช่น “โรงสีข้าว” สร้างจากไม้ไผ่ทั้งหลัง เกิดขึ้นจากการ
พัฒนาของสังคมเกษตรกรรม และการประยุกต์ใช้ใต้ถุน “ยุ้งข้าว” เพื่อเป็นพื้นที่พักผ่อน เลี้ยงสัตว์ ทั้งหมดคือรูปแบบ
อัตลักษณ์พื้นถิ่นของบ้านหัวนาไทย

 

ABSTRACT
This research aims to (1) study the history, settlement, life style, culture and custom of
Ban Hua Na Thai community, and (2) site survey looking for an identity of local landscape of Ban
Hua Na Thai. The research find that Sung Kru ceremony which has been inherited for more than
100 years is a significant cause, preserving the ritual area so called Kuh Ban Hua Na Thai. There is
mixed of believes including Brahma, spirits and Buddhism in this area. The main local landscape’s
characteristics of the area are (1) a circular settlement on a vast hill, surrounded by agriculture area
and Ku Ban Hua Na Thai, (2) a selection of plants in the residential circle are local plants, eatable
fruit plants, and vegetable with animal farming, (3) the distinctive residential housing with decorative  

detail like an opening and baluster, and (4) local architecture for living like rice mill built out of
bamboo which has been developed from the development of agri society and the adaptation of
the ground floor use of rice barn for a purpose of relaxation, animal farming, agri tool storage. These
are the main characteristics of Ban Hua Na Thai’s local landscape

Author Biography

อำภา บัวระภา

อาจารย์ประจ????ำ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
E-mail: [email protected]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-07-01