แนวทางการจัดการพื้นที่เพื่อรองรับภัยพิบัติแผ่นดินไหวจังหวัดเชียงราย Guidelines for Land Use in Response to Chiang Rai Earthquake Disaster

ผู้แต่ง

  • พงศ์ตะวัน นันทศิริ
  • วิบูลพร วุฒิคุณ
  • ณัฐฏเขต มณีกร

คำสำคัญ:

Spatial Management, Safety Area, Chiang Rai Earthquake, Disaster, Fault Lines, การจัดการพื้นที่, พื้นที่รองรับภัยพิบัติ, แผ่นดินไหวในพื้นที่จังหวัดเชียงราย, ภัยพิบัติ, รอยเลื่อนแผ่นดินไหว

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
แนวทางการจัดการพื้นที่เพื่อรองรับภัยพิบัติแผ่นดินไหวจังหวัดเชียงราย มีวัตถุประสงค์ในศึกษาข้อมูล
พื้นฐาน องค์ประกอบทางกายภาพของชุมชนที่อยู่ในพื้นที่รอยเลื่อนแผ่นดินไหว รวมทั้งข้อมูลสถิติการเกิดแผ่นดินไหว
ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย เพื่อเสนอแนะแนวทางการจัดการพื้นที่เพื่อเตรียมพร้อมรองรับภัยพิบัติแผ่นดินไหว โดยศึกษา
ลักษณะการวางผังชุมชน ลักษณะของอาคารและสิ่งปลูกสร้าง ข้อมูลแนวรอยเลื่อนแผ่นดินไหว และวิเคราะห์การความ
เชื่อมโยงด้านการอยู่อาศัย เพื่อวางแผนจัดเตรียมพื้นที่ในการรองรับภัยพิบัติแผ่นดินไหว ก????ำหนดเส้นทางอพยพ
และสัญลักษณ์บอกเส้นทาง ซึ่งการศึกษาครั้งนี้ก????ำหนดขอบเขตการศึกษา จากจ????ำนวนครัวเรือนที่ได้รับความเสียหาย
จากภัยพิบัติแผ่นดินไหว เมื่อวันที่ 5 พ.ค. 2557 โดยท????ำการก????ำหนดชุมชนตัวอย่างในพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดภัยพิบัติ
แผ่นดินไหวได้แก่ ต????ำบลทรายขาว อ????ำเภอพาน ต????ำบลดงมะดะ และต????ำบลป่าก่อด????ำ อ????ำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย
การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเสนอแนวทางการก????ำหนดพื้นที่ปลอดภัยในบริเวณที่มีความเหมาะสมของพื้นที่ศึกษา
ได้วิเคราะห์ข้อมูลจาก การวางผังของชุมชน ลักษณะอาคารละสิ่งปลูกสร้าง และข้อมูลของแนวรอยเลื่อนแผ่นดินไหว
(กลุ่มรอยเลื่อนพะเยา) เช่นเดียวกับเส้นทางอพยพที่ใช้หลักการวิเคราะห์ของ Chih-Hsiang Huang ซึ่งพิจารณาจาก
2 ปัจจัย ได้แก่ พฤติกรรมของมนุษย์และลักษณะกายภาพของเส้นทาง นอกจากนี้ยังได้มีข้อสังเกตที่ได้จากการวิจัย
และข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการศึกษาต่อในหัวข้อที่เกี่ยวข้อง และการปรับประยุกต์ใช้ในการก????ำหนดพื้นที่
ปลอดภัยเพื่อรองรับภัยพิบัติแผ่นดินไหวให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของชุมชนที่มีความเสี่ยงกับการเกิดภัยพิบัติ
แผ่นดินไหว

 

ABSTRACT
Guideline for Spatial Management in response to Chiang Rai earthquake disaster. Which
have purposes to research is basic data, physical element of earthquake fault lines in communities
and statistic data of disaster in Chiang Rai. To recommendation of spatial managements and
earthquake disaster relief which studied in the characteristics of community planning, building type
and earthquake fault lines data. To analysis in connection of housing for plans disasters preparation,

evacuation route, and sign boards. The research determines delimitation of study areas by a
number of household which damage from earthquake disaster on 5 May 2014. The sampling of this
research had determined by risk areas which were Saikao Pan district, Dongmada, Pakordum Maelao
district in Chiangrai province.
The analysis of data to propose guidelines for determining safety areas in appropriate
areas of study area. Have analyzed data from Community planning, Building type and the earthquake
fault lines (Phayao fault lines). Which were similarly of analysis evacuation route by Chih-Hsiang
Huang this routes had analyzed in two methodologies which were human behaviors and physical
route. In addition to have an observation in research and recommendation of advantage studies
adaptation further topics. And adjusting the application to the Spatial Management of safety areas
for earthquake disaster to appropriate the environment of the community at risk of earthquake
disaster.

Author Biographies

พงศ์ตะวัน นันทศิริ

อาจารย์ประจ????ำ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
E-mail: [email protected]

วิบูลพร วุฒิคุณ

อาจารย์ประจ????ำ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
 

ณัฐฏเขต มณีกร

อาจารย์ประจ????ำ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
 

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-07-01