The Reorganization for why Generation

Authors

  • นุช สัทธาฉัตรมงคล

Abstract

ในศตวรรษที่ 21 ยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็น เศรษฐกิจ สังคม
เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้นส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ ลักษณะและ
พฤติกรรมของกลุ่มคนที่เกิดในยุคเดียวกันหรือในช่วงเวลาเดียวกัน (Generation) ให้มีลักษณะบุคลิกภาพ
และความสามารถที่แตกต่างกันตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ความเชื่อ ทัศนคติ และค่านิยมที่แตกต่างกัน
มีผลทำให้การแสดงออกหรือพฤติกรรมในการทำงานแตกต่างกันด้วย สภาพการแข่งขันและการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีอยู่ตลอดเวลานั้น ทำให้คนกลายเป็นกลไกสำคัญขององค์การในการสร้าง
ความได้เปรียบในการแข่งขันบนเวทีโลก ผู้บริหารองค์การเริ่ม เห็นมองพนักงานเป็น “ทุนมนุษย์” ที่มีค่า
ขององค์การ แทนที่จะมองและปฏิบัติต่อพนักงานเสมือนเครื่องจักร และถือเป็นปัจจัยการผลิตหรือเป็น
ค่าใช้จ่ายขององค์การเหมือนในอดีต (Dragan,2005) คนในขององค์การจึงเป็นฟันเฟืองที่สำคัญในการผลักดัน
ให้องค์การประสบความ สำเร็จกิจกรรมต่าง ๆ ที่คนดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายนั้นทำให้องค์การกลาย
เป็นองค์การที่มีชีวิต มีการสร้างการเรียนรู้ ทักษะและนวัตกรรม ปัจจุบันกลุ่มคนที่อยู่ร่วมกันในองค์การมี
ความแตกต่างกันมาก เนื่องจาก การเกิดในยุคสมัยหรือในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน องค์การจึงควรต้องรับมือ
กับการเปลี่ยนแปลงดังกลา่ วเพอื่ รกั ษาคนทมี่ คี วามรคู้ วามสามารถใหอ้ ยกู่ บั องคก์ ารดว้ ยการเขา้ ใจคณุ ลกั ษณะ
ของคน และทำการแปลงสภาพองค์การให้สอดคล้องกับคนยุคใหม่ โดยเฉพาะคนในกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย
(Gen Y) ซงึ่ ขณะไดเ้ ขา้ สรู่ ะบบการทาํ งานและบางสว่ นกาํ ลงั กา้ วขนึ้ เปน็ ระดบั ผบู้ รหิ ารองคก์ าร และยงั มอี กี
จาํ นวนมากทกี่ าํ ลงั ทยอยเขา้ สรู่ ะบบการทาํ งานจากรายงานการวจิ ยั ของบรษิ ทั ศนู ยว์ จิ ยั เพอื่ การพฒั นาสงั คม
และธุรกิจ (SAB) พบว่า กลุ่มประชากร Gen Y คือ ผู้ที่เกิดในช่วงปี พ.ศ. 2523-2543 หรือมีอายุ ระหว่าง
18 ถึง 38 ปี (ณ ปี พ.ศ. 2561) มีจำนวนประมาณ 15 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 22.56 ของประชากรทั้งหมด
(กรมสุขภาพจิต, 2561)

References

กรมสุขภาพจิต. (2561). GenY/Gen Me กลุ่มผู้กุมชะตาโลก. สืบค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2561, เว็บไซต์: https://
dmh.go.th/news/view.asp?id=1251.
เรวัต แสงสุริยงค์. (2549). องค์การ:ก่อน-หลังสมัยใหม่. วารสารวิชาการ มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์,
14(21), 19-28.
ทัศนี ศรีกิตติศักดิ์. (2554). เจนเนอเรชั่นในองค์กรบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบและปัจจัยจูงใจในการทำงาน:
กรณีศึกษาพนักงานบริษัทประกันภัยแห่งหนึ่ง. งานวิจัย, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อัมพร ธำรงลักษณ์. (2556). องค์การ:ทฤษฎีโครงสร้างการออกแบบ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
Clegg, Stewart R., Kornberger, M., & Pitsis, T. (2015). Managing and Organizations : An Introduction
to Theory and Practice.SAGE Publications.
Dragan Lon~ar (2005). Postmodern Organization and New Forms of Organizational Control.
economic annals journal, 165.
Glass, A. (2007). Understanding generation cohors and personal values : a comparison of China
and the United States. Organization Science, 15, 210-220.
Mannheim, K. (1952). The problem of Generation, In Kecskemeti, P.(ed.), Essays on the Sociology
of Knowledge, Routledge & Kegan Paul, London.
Shafritz, Jay M. & Ott, J. Steven. (2001). Classics of Organization Theory. 5 th ed.United States
of America: Wadsworth Publishing Company.
Takatoshui,I. (2004). Gennerativity as Social Responsibility : the Role of Genneration in Societal
Continuity and Change. Retrieved form https://psycnet.apa.org/books/10622/006

Downloads

Published

2019-12-24

How to Cite

สัทธาฉัตรมงคล น. (2019). The Reorganization for why Generation. Business Review Journal, 11(2), 1–9. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/231071

Issue

Section

Special Articles