@article{โจนส์_2018, title={สังคมผู้สูงอายุ : โอกาสและความท้าทายทางธุรกิจ}, volume={10}, url={https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/144822}, abstractNote={<p>องค์การสหประชาชาติ ได้ระบุไว้ว่าประเทศใดมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปในสัดส่วนเกิน<br>ร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ ถือว่าประเทศนั้นก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะ<br>เปลี่ยนเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) เมื่อสัดส่วนประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้น<br>เป็นร้อยละ 20 สำหรับประเทศไทยนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 โดยมีประชากรอายุ<br>60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 10.5 และจากการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2543-2573 คาดว่า<br>จำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ 15.7 ในปี พ.ศ. 2573 หรือ ในอีก12 ปีข้างหน้า โดยที่ประเทศ<br>ไทยมีแนวโน้มที่จะเป็นสังคมผู้สูงอายุเต็มรูปแบบในปี พ.ศ. 2564 เมื่อมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเป็น 13.1<br>ล้านคน หรือร้อยละ 20 ของประชาการทั้งหมด (นีลเส็น ประเทศไทย, 2559)</p>}, number={1}, journal={Business Review Journal}, author={โจนส์ พวงชมพู}, year={2018}, month={Sep.}, pages={1–6} }