การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความเสี่ยงในโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย

ผู้แต่ง

  • แววมยุรา คำสุข คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

คำสำคัญ:

ความเสี่ยง, โซ่อุปทาน, อุตสาหกรรมยานยนต์

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความเสี่ยงในโซ่อุปทานของ
อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน
327 ราย ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเสี่ยงของโซ่อุปทานภายนอกตามระดับความ
เสี่ยงสูง คือ ราคาของวัตถุดิบเพิ่มขึ้น ซัพพลายเออร์มีปัญหาทางด้านคุณภาพ การเพิ่มภาษีศุลกากร
ความล้มเหลวของการขนส่ง ความล้มเหลวของซัพพลายเออร์ การเปลี่ยนแปลงในอุปสงค์ของ
ลูกค้า การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี วิกฤตน้ำมัน อุบัติเหตุ ข้อจำกัดเรื่องการนำเข้าส่งออก
ภัยธรรมชาติ ความผิดพลาดของระบบ IT การประท้วง และการโจมตีของผู้ก่อการร้าย ตามลำดับ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเสี่ยงของโซ่อุปทานภายในตามระดับความเสี่ยงสูง คือ การกำหนดหรือ
ดำเนินนโยบายกลยุทธ์ ทรัพยากรมนุษย์ขาดแคลน ขาดทักษะและความชำนาญ เครื่องจักรชำรุด
เสียหาย ขาดแคลนเงินทุน ความผิดพลาดในการจ่ายวัตถุดิบผิด การปฏิบัติการภายในองค์กรไม่มี
ประสิทธิภาพ การวางแผนการผลิตผิดพลาด การตรวจสอบวัตถุดิบหรือชิ้นงานผิดพลาด ตามลำดับ

ดังนั้นผู้บริหารอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยควรนำไปวางแผนกลยุทธ์ กำหนดนโยบาย และแผน
ปฏิบัติการเพื่อป้องการความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นตามมา

Author Biography

แววมยุรา คำสุข, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

18/18 ถ.บางนา-ตราด ต.บางโฉลง อ.บาลพลี จ.สมุทรปราการ 10540

References

กระทรวงอุตสาหกรรม. (2555). แผนแม่บทอุตสาหกรรมยานยนต์ ปี พ.ศ. 2555–2559. กรุงเทพฯ:
สถาบันยานยนต์ กระทรวงอุตสาหกรรม.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2552). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ:
เอส.อาร์.พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ .
พัชราภรณ์ เนียมมณี และวลัยลักษณ์ อัตรธีรวงศ์. (2556). การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ
ความเสี่ยงของโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมยานยนต์. คณะสถิติประยุกต์, สถาบันบัณฑิต
พัฒนบริหารศาสตร์.
ภูริชยา สัจจาเฟื่องกิจการ และ ธนัญญา วสุศรี. (2555). การวิเคราะห์ความเสี่ยงโซ่อุปทานธุรกิจการผลิต
ผักกาดดองบรรจุกระป๋อง. วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., 35(3), 311-321.
แววมยุรา คำสุข และ นิรันดร์ ฉิมพาลี. (2554). การจัดการความเสี่ยงในอุตสาหกรรม. สมุทรปราการ:
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
แววมยุรา คำสุข ปรียา เตียงธวัช กาญจนา ทวินันท์ มนตรี ธรรมพัฒนากูล และสัญญา ยิ้มศิริ. (2560).
การจัดการโซ่อุปทาน ความสามารถด้านนวัตกรรม และองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อ
ผลการดำเนินงานขององค์การผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย. วารสารธุรกิจปริทัศน์,
9(1), 125-142.
สถาบันยานยนต์. (2561). สถิติยานยนต์. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2561, จากเว็บไซต์: http://
www.thaiauto.or.th/2012/th/
สุชาติ ประสิทธ์รัฐสินธุ์, (2550). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ : สามลด.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2560). สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์โดยความ ร่วมมือ
จากกรมศุลกากร. เข้าถึงได้จาก : http://www2.ops3.moc.go.th/
Berry, J., (2004). Supply chain risk in an uncertain global supply chain environment. International
Journal of Physical Distribution & Logistics Management, 34(9), 695–697.
Best, J. W., & Kahn, J. V. (1998). Research in education. 8th ed. Boston: Allyn and Bacon.
Childerhouse, P., Hermiz, R., Mason-Jones, R., Popp, A., & Towill, D. R. (2003). Information
flow in automotive supply chains–present industrial practice. Industrial Management &
Data Systems, 103(3), 137-149.
Chopra, S., Sodhi, & M.S. (2004). Managing risk to a void supply-chain breakdown. MIT Sloan
Management Review, 46(1), 53–62.
Juttner, U. (2005). Supply chain risk management understanding the business requirements from a
practitioner perspective. The International Journal of Logistics Management, 16(1), 120–
141.
Kiser, J., & Cantrell, G. (2006). Six Steps to Managing Risk. Supply Chain Management Review,
10(3), 12-17.
Lee, H.L. (2004). The triple-a supply chain. Harvard Business Review, 82(10),102–112.
MeiDan, X., Ye, L., & ZhiQiang, S. (2011). On the measure method of electronic supply chain
risk. Procedia Engineering, 15(2011), 4805-4813.
Peck, H., (2005). Drivers of supply chain vulnerability: an integrated framework. International
Journal of Physical Distribution & Logistics Management, 35(4), 210–232.
Sheffi, Y. (2001). Supply chain management under the threat of international terrorism. The
International Journal of Logistics Management, 12(2),1–11.
Tang, C.S. (2006). Robust strategies for mitigating supply chain disruptions. International Journal
of Logistics, 9(1), 33–45.
Thun, J. H., & Hoenig, D. (2011). An empirical analysis of supply chain risk management in the
German automotive industry. International journal of production economics, 131(1), 242-
249.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-24