ผลของการส่งเสริมสุขภาพร่วมกับการสนับสนุนจากสามีต่อระดับน้ำตาลใน เลือด และพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของสตรีที่เสี่ยงต่อการเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์

Authors

  • ดลลักษณ์ - โรจน์นวเสรี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Keywords:

การส่งเสริมสุขภาพ, การสนับสนุนจากสามี, ระดับน้ำตาลในเลือด, พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ, สตรีที่เสี่ยงต่อการเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์, Health Promotion, Spouse Support, the Blood Glucose Level, Health Promoting Behaviors, Pregnant Women at Risk of Gestational Diabetes Mellitus

Abstract

การวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลของการส่งเสริมสุขภาพร่วมกับการสนับสนุนจากสามีต่อระดับน้ำตาลในเลือด และพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของสตรีที่เสี่ยงต่อการเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ กลุ่มตัวอย่างคือ สตรีตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ที่ห้องฝากครรภ์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่จำนวน 52 ราย โดยแบ่งเป็นกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองเท่ากันกลุ่มละ 26 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ ส่วนกลุ่มทดลองได้รับการส่งเสริมสุขภาพร่วมกับการสนับสนุนจากสามีประเมินผลหลังจากทดลองได้ 8 สัปดาห์ ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มทดลองมีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำลง และมีคะแนนพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพสูงขึ้น (p< .001) ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า และมีคะแนนพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพสูงกว่ากลุ่มควบคุม (p <.001) หน่วยฝากครรภ์จึงควรมีการส่งเสริมสุขภาพร่วมกับการสนับสนุนจากสามีให้แก่สตรีที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์

The Effect of Health Promotion and Spouse Support to the Blood Glucose Level and Health‑Promoting Behaviors in Pregnant Women at Risk of Gestational Diabetes Mellitus

This quasi-experimental research aimed to evaluate the health promotion and spouse support on blood sugar level and health-promoting behaviors  in pregnant women at risk of gestational diabetes mellitus. The sample of 52 pregnant women at risk of gestational diabetes mellitus from the antenatal care clinic at Maharaj Nakorn Chiang Mai hospital were assigned into the control group and the experimental group with twenty six in each group. The control group received routine care. The experimental group received the health promotion and spouse support. Evaluation was done after the experiment for 8 weeks. The results showed that in the experimental group blood sugar level decreased and the mean score of health-promoting behaviors increased (p < .001). After the experiment, if compared with the control group, blood sugar level was lower and the mean score of health-promoting behaviors was higher (p < .001). At antenatal care clinic the health promotion and spouse support should be implemented in pregnant women at risk of gestational diabetes mellitus.

References

จีระภา มหาวงค์. (2551). ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ร่วมกับแรงสนับสนุนจากสามีต่อพฤติกรรมส่งเสริม
สุขภาพ และการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในหญิงที่เป็นเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์.
(วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการพยาบาลมารดา และทารก
แรกเกิด) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
จุฬาภรณ์ โสตะ. (2553). แนวคิด ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ.ภาควิชา
สุขศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์ ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ฐิติพร อิงคถาวงศ์. (2544). การพยาบาลผู้รับบริการทางสูติศาสตร์ที่มีภาวะแทรกซ้อน. สงขลา: คณะ
พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ณิชชา จิ่มอาษา. (2555).การประยุกต์ใช้โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อ
พัฒนาพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น โรงพยาบาลพระอาจารย์แบน ธนากโร
อำเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร.(วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
จัดการระบบสุขภาพ) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ดวงสมร นิลตานนท์ และจุฬาภรณ์ โสตะ. (2553). ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพโดยประยุกต์ใช้
ทฤษฏีความสามารถแห่งตนและ กระบวนการกลุ่มร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมใน
ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในโรงพยาบาลเอราวัณ อำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย.วารสารวิจัยมข.
(ฉบับบัณฑิตศึกษา) , 10(3), 51-60.
นันทพร แสนศิริพันธ์. (2555). การพยาบาลสตรีที่มีภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม.ใน นันทพร
แสนศิริพันธ์ และฉวี เบาทรวง (บรรณาธิการ). การพยาบาลผดุงครรภ์ เล่ม 3: สตรีที่มี
ภาวะแทรกซ้อน. เชียงใหม่: บริษัท ครองช่างพริ้นท์ติ้ง จำกัด.
มานี ปิยะอนันต์, ชาญชัย วันทนาศิริ และประเสริฐ ศันศนีย์วิทยกุล (บรรณาธิการ). (2552).
สูติศาสตร์. (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลิฟวิ่ง.
ราตรี พลเยี่ยม และสมพร วัฒนนุกูลเกียรติ.(2559). ผลของโปรแกรมการให้ความรู้อย่างมีแบบแผน
ตามความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อ
โรคเบาหวานในระยะตั้งครรภ์.วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครราชสีมา, 22(1), 77-91.
สร้อย อนุสรณ์ธีรกุล และพัชรี จันทอง . (2557). ผลของโปรแกรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมต่อ
พฤติกรรมการควบคุมอาหารของหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวาน.วารสารพยาบาลศาสตร์
และสุขภาพ, 37(1), 51-59.
สุชยา ลือวรรณ. (2555). โรคเบาหวานในสตรีตั้งครรภ์ ใน ธีระ ทองสง (บรรณาธิการ). สูติศาสตร์
(พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: บริษัทลักษมีรุ่งจำกัด.
สุดกัญญา ปานเจริญ.(2557). ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพร่วมกับการสนับสนุนจากครอบครัวต่อ สงเส ริมสุ ข ภ า พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น. วารสารการพยาบาลและการศึกษา , 7(3), 113-123.
ห้องฝากครรภ์ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่.(2558).สถิติประจำปี พ.ศ. 2555-
2557. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อังคณา ชูชื่น, น้ำอ้อย ภักดีวงศ์ และวารินทร์ บินโฮเซ็น. (2557). ผลของโปรแกรมส่งเสริมการจัดการ
ตนเองต่อพฤติกรรมสุขภาพ และระดับน้ำตาลใน เลือดในหญิงที่เป็นเบาหวานจากการ
ตั้งครรภ์. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 32(4), 60-67.
Cohen, S., Gottlieb, B. H., & Underwood, L. G. (2000). Social relationships and health. In S.
Cohen, L. G. Underwood, & B. H. Gottlieb (Eds.), Social support measurement and intervention:
A guide for health and social scientist (pp. 3-25). New York: Oxford University Press.
Cunningham, F. G. (2014).Williams Obstetrics Diabetes Mellitus: Medical (24th ed.). New York:
McGraw- Hill.
Division of Medical Record Siriraj Hospital, Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol
University. (2014). Statistical report 2014: Siriraj Hospital. Bangkok: Division
of Medical Record Siriraj Hospital.
House, J.S. (1981). Work stress and social support. London: Addison-Wesley.
Kalra, P., Kachhwaha, C.P., & Singh, H.V. (2013). Prevalence of gestational diabetes mellitus
and its outcome in western Rajasthan. Indian Journal of Endocrinology and Metabolism,17(4), 677-680.
Limruangrong, P., Sinsuksai, N., Ratinthorn, A., & Boriboonhirunsarn, D. (2011). Ralationship among Selected Factors, Exercise, and Two-hour Postprandial Blood Glucose Levels in Pregnant Women with Gestational Diabetes Mellitus. Journal of Nursing Science, 29(3), 48-58.
Ngamjaras, C., Chongsuvivatwong, V. (2014). n4Studies: Sample size and power calculations for
Android. The Royal Golden Jubilee Ph.D. Program, The Thailand Research Fund &
Prince of Songkla University.
Pender, N. J., Murdaugh, C. L., & Parson, M. A. (2006). Health promotion in nursing practice.
(5th ed.). New Jersey: Pearson Education.
Redden, S.L., LaMonte, M.J., Freudenhiem, J.L., & Rudra, C.B. (2011). The association between
gestational diabetes mellitus and recreational physical activity. Maternal and Child
Health Journal, 15(4), 514-519.
Westcott, W.L. (2012). Resistance training is medicine: effects of strength training on health.
Current Sports Medicine Reports, 11(4), 209-216.

Downloads

Published

2018-12-25

How to Cite

โรจน์นวเสรี ด. .-. (2018). ผลของการส่งเสริมสุขภาพร่วมกับการสนับสนุนจากสามีต่อระดับน้ำตาลใน เลือด และพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของสตรีที่เสี่ยงต่อการเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์. Journal of Nursing and Health Research, 19(3), 47–58. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/bcnpy/article/view/122095