ทางรอดวิกฤติเศรษฐกิจด้วยแนวทางวิสาหกิจชุมชน

Main Article Content

ทศพร แก้วขวัญไกร

บทคัดย่อ

          การดำาเนินชีวิตทางเศรษฐกิจที่เป็นรากฐานแต่เดิมของคนในชุมชนเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจ
จากตัวเองสู่ครอบครัวกลายมาเป็นเศรษฐกิจชุมชนสู่กระบวนการแห่งการแลกเปลี่ยนที่มีความซับซ้อน
กันมากขึ้น ในทั้งระดับจุลภาคและระดับมหภาค อย่างไรก็ตามในการดำาเนินเศรษฐกิจชุมชนในแต่ละ
พื้นที่มีบริบทแตกต่างกัน รวมทั้งการยกระดับเศรษฐกิจต่อการแข่งขันทางการค้าทั้งภายในประเทศ
และต่างประเทศยังมีจุดอ่อนที่เกิดการเปลี่ยนแปลงไม่ทันต่อสถานการณ์ในภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำา
หรือเกิดภาวะผันผวนทางเศรษฐกิจโลก ในช่วงปี พ.ศ.2540 และปี พ.ศ.2550 ตามลำาดับ ทำาให้เกิด
แนวคิดที่หลากหลายต่อการประคับประคองพื้นฐานทางเศรษฐกิจให้สามารถขับเคลื่อนไปได้ ดังนั้น
สิ่งที่สำาคัญที่สุดของการกลับมาทบทวนในการวางแนวทางให้เกิดความยั่งยืนต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
จึงต้องมีการมองถึงฐานรากเดิมที่มีอยู่ คือ เกษตรกรรมและเศรษฐกิจชุมชน ซึ่งจะพิจารณาถึงการนำา
เศรษฐกิจรากฐานที่มีความเข้มแข็งเกี่ยวกับการนำาความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในการเสริมสร้างในการ
ขับเคลื่อนเป็นการรวมกลุ่มกันให้มีพลังต่อการพึ่งพาตนเอง ประกอบกับการประยุกต์ให้สอดคล้องกับ
สภาพชุมชน ทรัพยากรท้องถิ่น โดยให้พื้นฐานทางการเกษตรและองค์ความรู้ทางประเพณีภูมิปัญญา
เป็นสิ่งขับเคลื่อนให้ผสมผสานกับแนวคิดสมัยใหม่ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของโลกาภิวัฒน์การ
เปลี่ยนแปลงแห่งการผสมผสานฐานความคิดทางความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นก่อให้เกิดกระบวนการ
สร้างสรรค์รูปแบบในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ที่มีการร่วมมือการจัดสรรทรัพยากร การจัดการทุน
การสร้างหลักเกณฑ์แห่งการช่วยเหลือกัน พึ่งพากันจากระดับฐานปฐมภูมิสู่ระดับฐานทุติยภูมิ จน
กลายเป็นแนวคิดเกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชนประสานกับเศรษฐกิจชุมชนต่อการพัฒนารวมกับการใช้หลัก
เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ให้เกิดความสมดุลของชุมชนนั้นๆ ที่สร้างความเข้มแข็งในการแข่งขัน
ในระบบที่ซับซ้อน ดังนั้นเพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงหลักการและแนวคิดของวิสาหกิจชุมชน ขออธิบาย
เป็น 7 ประเด็น ดังนี้ 1) พัฒนาการและความหมายของวิสาหกิจชุมชน 2) ความสำาคัญของวิสาหกิจ
ชุมชน 3) แนวคิดของวิสาหกิจชุมชน 4) ประเภทและรูปแบบของวิสาหกิจชุมชน 5) ปัจจัยสำาคัญของ
วิสาหกิจชุมชน 6) เป้าหมายของวิสาหกิจชุมชน 7) บทส่งท้ายกรอบการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

Article Details

บท
บทความวิชาการ (Academic Paper)

References

กฤตภาส เสมอพิทักษ์และคณะ. (2554). การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตนำ้าดื่ม
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน ตำาบลบ้านสา อำาเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำาปาง.
กรุงเทพมหานคร: สำานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยแห่งชาติ (สกว.).
กษมาพร พวงประยงค์และนพพร จันทรนำาชู. (2556). แนวทางการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนกลุ่มการแปรรูป
และผลิตภัณฑ์ จังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย ปีที่ 5 ฉบับที่ 1:20-23.
กองส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน กรมส่งเสริมการเกษตร. (2559). วิสาหกิจชุมชนน่ารู้.
สืบค้นเมื่อ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559, จาก http://www.sceb.doae.go.th/Ssceb2.htm.
กัญญามน อินหว่างและคณะ. (2554). การจัดการวิสาหกิจชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ 1. พิษณุโลก:
มหาวิทยาลัยพิษณุโลก.
จันทนา พงศ์สิทธิกาญจนา. (2556). ตัวแบบการจัดการเพื่อการบรรลุยุทธศาสตร์วิสาหกิจชุมชน
จังหวัดนครปฐม.วารสารดุษฏีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ (ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์)
ปีที่ 3 ฉบับที่2 :46.
ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐและพิทยา ว่องกุล. (2545). วิสาหกิจชุมชน: กลไกเศรษฐกิจฐานราก.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เดชวิทย์นิลวรรณและทิพย์พธู กฤษสุนทร. (2557). กระบวนการและกลยุทธ์การถ่ายทอด
ภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษาเทศบาลตำาบลฟ้าฮ่าม อำาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.
กรุงเทพมหานคร: สำานักงานกองทุนการวิจัยแห่งชาติ (สกว.)
ทวีศักดิ์ นพเกสร. (2545). วิกฤติเกษตรกร: วิกฤติสังคมไทยสู่ทางรอดในโลกใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 2).
พิษณุโลก: สถาบันพัฒนาสี่แยกอินโดจีน.
ทศพร แก้วขวัญไกร. (2556). เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น. บุรีรัมย์: ซีพี พิมพ์.
ทศพร แก้วขวัญไกรและจตุพร จันทารัมย์. (2558). เดินถอยหลังไปข้างหน้ากับระบบสหกรณ์.
บุรีรัมย์: วารสารสภา คณาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ปีที่ 1 ฉบับ
ปฐมฤกษ์ มิถุนายน-พฤศจิกายน 2558.
ธวัชชัย บุญมีและคณะ. (2555). การวิจัยและพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมนบ้านสันทรายต้นกอก
ตำาบลฟ้าฮ่าม อำาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเชียงใหม่.
ธันยมัย เจียรกุล. (2557). ปัญหาและแนวทางการปรับตัวของ OTOP เพื่อพร้อมรับการเปิด AEC.
วารสารนักบริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปีที่ 34 ฉบับที่ 1: 31.
ประหยัด มโนพะเส้า. (2556). กระบวนการขับเคลื่อนเครือข่ายกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเป็นเครื่องมือใน
การทำางานของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร จังหวัดลำาพูน. แก่นเกษตร ปีที่ 41 หน้า 17-26.
ปริมรัตน์ แขกเพ็ง. (2551). รายงานการศึกษาแนวทางการพัฒนาโครงการสนับสนุนการพัฒนา
อุตสาหกรรมชนบท. กรุงเทพมหานคร: สำานักพัฒนาอุตสาหกรรมชุมชนกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม.
ปาริชาติ วลัยเสถียรและคณะ. (2540). โครงการวิจัยเรื่องนโยบายและมาตรการในการส่งเสริมธุรกิจชุมชน.
กรุงเทพมหานคร: สำานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยแห่งชาติ ชุดโครงการเศรษฐกิจชุมชน.
พรเพ็ญ ทับเปลี่ยน. (2546). เส้นทางเศรษฐกิจชุมชนในกระแสทุนนิยม. กรุงเทพมหานคร:
สำานักพิมพ์สร้างสรรค์ จำากัด.
พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548. กรุงเทพฯ : สำานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อม.
พัฒนาธุรกิจสถาบัน, กอง. (2551). คู่มือการปฏิบัติงานสินเชื่อกลุ่มบุคคลของธ.ก.ส. กรุงเทพฯ:
ฝ่ายสินเชื่อสถาบันธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร.
วรางคณา อดิศรประเสริฐ. (2557). แนวทางการพัฒนาศักยภาพการตลาดสำาหรับผู้ประกอบการสตรี
ในชุมชน: กรณีศึกษาวิสาหกิจขนาดย่อมผลิตภัณฑ์กระดาษสา.วารสารสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒปีที่ 17ฉบับที่ 1: 44
วิวัฒน์ เมฆอรุณ. (2556). ทุนทางวัฒนธรรมกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน: กรณีศึกษาภาคเหนือตอนล่าง.
รวมบทความประวัติศาสตร์วัฒนธรรม ในโอกาสศาสตราจารย์เกียรติคุณ
ดร.ฉัตรทิพย์ นาถ สุภา อายุ 72 ปี. กรุงเทพมหานคร: ด่านสุทธาการพิมพ์ จำากัด.
ศศิภา พิทักษ์ศานต์. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำาเร็จของการนำานโยบายส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
ไปปฏิบัติ กรณีศึกษาอำาเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่.วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ ปีที่24 ฉบับที่ 3: 38
ศักดิ์ดา ศิริภัทรโสภณ. (2558). การศึกษากรอบแนวคิดเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนเพื่อสังคมใน
ประเทศไทย.วารสารสมาคมนักวิจัย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2: 55.
ศิริวรรณ เจนการและคณะ. (2545). โครงการพลังแผ่นดิน: กรณีศึกษาด้านธุรกิจชุมชน.
กรุงเทพฯ: มูลนิธิพัฒนาไท.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ. (2546). การบริการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร: บริษัทธรรมสาร.
สมศักดิ์ ชอบตรง. (2549). การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม: การพัฒนาชุดโจทย์วิจัยเพื่อการพัฒนา
วิสาหกิจชุมชนแบบครบวงจรของจังหวัดสุราษฏร์ธานี. กรุงเทพมหานคร: สำานักงานกองทุน
สนับสนุนงานวิจัยแห่งชาติ (สกว.).
สัญญา เคณาภูมิ. (2558). แนวทางการพัฒนาประสิทธิผลของวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่จังหวัด
มหาสารคาม.วารสารวิชาการแพรกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 3: 45.
สำานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2559). พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548.
สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2559, จาก https://www.moac.go.th/download/
pos%207608.pdf.
เสน่ห์ จามริก. (2543). เศรษฐกิจพอเพียงกับสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย. รวมบทความเศรษฐศาสตร์
การเมือง (เพื่อชุมชน) ฉบับพิเศษ: ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพมหานคร:
บริษัทเอดิสันเพรส โปรดักส์ จำากัด.
เสรี พงศพิศและสุภาส จันทร์หงส์. (2548). ข้อควรรู้เกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชน. กรุงเทพมหานคร:
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำากัด.
อภิสิทธิ์ พรมชัยและศุภลักษณ์ สุวรรณะชฎ. (2554). ความสำาเร็จของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้าน
ห้วยกาน. วารสารการบริหารท้องถิ่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 2: 58.
อัจฉรา หลาวทองและคณะ. (2550).การศึกษาแนวทางการจัดการทางการตลาดของวิสาหกิจชุมชน
การท่องเที่ยวในเขตอีสานใต้.กรุงเทพมหานคร: สำานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยแห่งชาติ (สกว.).
อุทิศ สังขรัตน์และธงพล พรหมสาขา ณ สกลนคร. (2556). แนวทางในการกำาหนดนโยบายภาครัฐ
เพื่อสนับสนุนการดำาเนินงานวิสาหกิจชุมชนในเขตลุ่มทะเลสาบสงขลา. การประชุมหาดใหญ่
วิชาการ ครั้งที่ 4 วันที่ 10 พฤษภาคม 2556.