The Relationships Among Young Malaysian-Indian’s Self- Perceived Family Communication Pattern, Media Exposure to Tamil Movies, and their Attitude and Belief toward Violence

Main Article Content

Kala Sukumar
Pacharaporn Kesaprakorn
Thanawut Naigowit

Abstract

This survey research aims to explore the relationships among young Malaysian-Indians’ self-perceived family communication patterns, media exposure on Tamil movies, and their attitude and beliefs toward violence in daily life context. Four hundred young Malaysian- Indians living in Johor Bahru city, Malaysia were selected to participate in the survey using the stratified sampling and simple random sampling methods. The data were tabulated and analyzed using inferential statistics such as Chi-square, Multivariate Analysis of Variance (MANOVA) and Multiple Regression at the significance level of 0.05. The findings revealed as follows: (1) The young Malaysian-Indians’ sex and age difference was significantly correlated with their self-perceived family communication patterns, but was not significantly associated with family type, number of siblings, mother’s educational level, father’s educational level, mother’s occupation, father’s occupation and family income. (2) The young Malaysian-Indians’ age difference, family type, and father’s educational level difference were significantly associated with their self-reported frequency of media exposure to Tamil movies and frequency of portrayal of violence in Tamil movies, but were not significantly associated with sex, number of siblings, mother’s educational level, mother’s occupation, father’s occupation, and monthly family income. (3) The young Malaysian- Indians’ self-perceived family communication patterns exhibited significantly different selfreported frequency of media exposure to Tamil movies and frequency of portrayal of violence in Tamil movies. The laissez-faire young Malaysian-Indians’ perceived significantly less frequency of portrayal of violence in Tamil movies than consensual young Malaysian- Indians, protective young Malaysian-Indians, and pluralistic young Malaysian-Indians. (4) The young Malaysian-Indians’ family communication patterns differences exhibited significantly different level of machismo but exhibited insignificant frequency of acceptance of violence. (5) The young Malaysian-Indians who reported higher frequency of media exposure on Tamil movies exhibited significantly a higher degree machismo and a higher degree of acceptance of violence in daily life context. The present research is consistent with family communication patterns, individual differences theory, cultivation theory and social learning theory.

 

ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการสื่อสารภายในครอบครัวของวัยรุ่นชาวมาเลเซีย-อินเดีย พฤติกรรมการเปิดรับสื่อภาพยนตร์ทมิฬกับทัศนคติและความเชื่อต่อความรุนแรง

งานวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการสื่อสารภายในครอบครัวพฤติกรรมชมภาพยนตร์ทมิฬ และทัศนคติและความเชื่อต่อความรุนแรงในชีวิตประจำวันของวัยรุ่นชาวมาเลเซีย-อินเดียที่อาศัยในเมืองยะโฮร์บาห์รู โดยได้สุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นและการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย สถิติในการวิเคราะห์ ได้ แก่ ไค-สแควร์ การวิเคราะห์ตัวแปรปรวนพหุนามและวิเคราะห์ถดถอยพหุคุณ ด้วยระดับนัยสำคัญที่ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า (1) เพศและอายุของกลุ่มตัวอย่างมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับรูปแบบการสื่อสารภายในครอบครัว แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับตัวแปรอื่นๆซึ่งประกอบด้วย ลักษณะครอบครัว จำนวนพี่น้อง ระดับการศึกษาของบิดา และมารดา อาชีพของบิดาและมารดา และรายได้ของครอบครัวต่อเดือน (2) กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ ลักษณะของครอบครัว และระดับการศึกษาของบิดาที่แตกต่างกัน จะมีพฤติกรรมเปิดรับสื่อภาพยนตร์ทมิฬ และรับรู้ความถี่ของการนำเสนอความรุนแรงในภาพยนตร์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ แต่ปัจจัยด้านเพศ จำนวนพี่น้อง ระดับการศึกษาอาชีพของมารดาและบิดา และรายได้ของครอบครัวต่อเดือนไม่มีผลอย่างมีนัยสำคัญกับตัวแปรตามดังกล่าว(3) กลุ่มตัวอย่างที่มีรูปแบบการสื่อสารภายในครอบครัวแตกต่างกัน จะมีพฤติกรรมเปิดรับสื่อภาพยนตร์ทมิฬและรับรู้ความถี่ในความรุนแรงในภาพยนตร์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ โดยครอบครัวปล่อยและจะรับรู้การนำเสนอความรุนแรงในภาพยนตร์ในความถี่ที่ต่ำกว่าครอบครัวเห็นพ้องต้อง ครอบครัวปกป้อง และครอบครัวแบบเปิดเสรีทางความคิด (4) กลุ่มตัวอย่างที่มีรูปแบบการสื่อสารภายในครอบครัวแตกต่างกันจะมีทัศนคติการโอ้อวดความเป็นชาย ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ แต่รูปแบบการสื่อสารภายในครอบครัวไม่มีผลต่อทัศนคติยอมรับความรุนแรงของกลุ่มตัวอย่าง และ (5) กลุ่มตัวอย่างที่มีพฤติกรรมเปิดรับสื่อภาพยนตร์ทมิฬ จะมีทัศนคติการโอ้อวดความเป็นชายและยอมรับความรุนแรงในชีวิตประจำวันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

Article Details

Section
Research Articles