Health Communication Issues among Migrant Workers in Thailand: A Systematic Review for Health Communication Practices

Main Article Content

Patama Satawedin

Abstract

Migration moving from neighboring countries provides economic contribution and development to both migrant workers per se and a nation as a whole. In Thailand, a number of migrant workers are large, especially those who are from Myanmar, Lao People’s Democratic Republic, and Cambodia, and that could indicate high prevalence of communicable and non-communicable disease widespread in a country they wish to seek for job opportunities. The objective of this study was to systematically review the importance of health communication issues among migrant workers in Thailand and later on to give practical applications for health communicators and healthcare service providers. Articles available on Bangkok University database and relating to migrant workers in Thailand were selected. So, out of 281 search results, 15 papers met the requirements. The results indicated that the majority of the papers were triggered to Burmese migrant workers, while none aimed at exploring Laotian and Cambodian migrant workers. Two exceptions were found, though: one paid attention to Thai, Cambodian, and Burmese migrant workers and the other focused on migrant workers from Thailand, Vietnam, Lao, and Cambodia. Further to this, the selected studies were mostly primary research using the quantitative approach. Likewise, the majority of them prioritised the necessity of tuberculosis, HIV/AIDS, and human trafficking. In addition to these, the migrant workers in Thailand were somewhat facing unhealthy and deteriorating conditions due to demographic, personal and environmental factors. Recommendations for health communication practices were discussed.

 

ประเด็นการสื่อสารสุขภาพในแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย: การทบทวนเอกสารอย่างเป็นระบบเพื่อแนวทางปฏิบัติด้านการสื่อสารสุขภาพ

การอพยพย้ายถิ่นฐานก่อให้เกิดประโยชน์และการพัฒนาด้านเศรษฐกิจของทั้งแรงงานต่างด้าวเองและประเทศชาติโดยภาพรวม แรงงานต่างด้าวในประเทศไทยมีจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงงานต่างด้าวที่มาจากประเทศเมียนมาร์ ลาว และกัมพูชา ซึ่งนั่นสามารถบ่งบอกได้ถึงการแพร่กระจายของโรคติดต่อและไม่ติดต่อที่เกิดขึ้นในประเทศที่แรงงานต่างด้าวดังกล่าวต้องการจะย้ายถิ่นเพื่อไปทำงานการวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการให้ความสำคัญกับประเด็นการสื่อสารสุขภาพในกลุ่มแรงงานต่างด้าวในประเทศไทยอย่างเป็นระบบ และนำเสนอแนวทางการปฏิบัติด้านการสื่อสารสุขภาพให้กับผู้ที่ทำงานด้านการสื่อสารสุขภาพและผู้ให้บริการด้านสุขภาพ โดยใช้บทความในฐานข้อมูลของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ และเลือกผลงานที่ศึกษาเฉพาะแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย ดังนั้น จากผลการค้นหาทั้งสิ้น281 ผลลัพธ์ พบบทความที่เป็นไปตามข้อกำหนดเพียง 15 บทความเท่านั้น ผลการวิจัยพบว่าการศึกษาส่วนใหญ่มุ่งศึกษาแรงงานต่างด้าวชาวพม่า และไม่มีการศึกษาใดที่สนใจศึกษาแรงงานต่างด้าวชาวลาว และกัมพูชาเลย ยกเว้นการศึกษาหนึ่งที่ศึกษาภาพรวมของแรงงานต่างด้าวชาวไทย กัมพูชา และเมียนมาร์ในขณะที่อีกการศึกษาหนึ่งมุ่งให้ความสนใจไปที่แรงงานต่างด้าวจากประเทศไทย เวียดนาม ลาว และกัมพูชาในขณะเดียวกันการศึกษาส่วนใหญ่ใช้การศึกษาปฐมภูมิ และใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ ประเด็นด้านการสื่อสารสุขภาพที่พบบ่อยมากที่สุด คือ วัณโรค เอชไอวี/เอดส์ และการค้ามนุษย์ นอกจากนั้น การที่แรงงานต่างด้าวเผชิญกับปัญหาด้านสุขภาพเกิดขึ้นทั้งจากปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยภายนอก โดยมีการเสนอแนะถึงแนวทางการปฏิบัติด้านการสื่อสารสุขภาพกัน

Article Details

Section
Research Articles