The Problems and obstructions against the implementation of Knowledge Management at Ramkhamhaeng University

Main Article Content

Nounla-or Saengsook

Abstract

This study aimed to document the Knowledge Management attempts at Ramkhamhaeng University as well as to identify problems and obstructions regarding the implementation of Knowledge Management. Delphi technique was used in order to gather information from 18 experts. The first group consisted of 6 administrators. The second group consisted of 6 instructors. The third group consisted of 6 staff from the administration units. All informants had more than 10 years’ tenure with the university, some were from the beginning. They had witnessed the development of the university and possessed accurate information about the university. In-depth interviews were performed with each expert. The information was compiled under the framework of Knowledge Management, i.e., knowledge acquisition and creation, storing, distribution, and application. Questionnaire was drafted from the information obtained. This questionnaire was presented to the all informants to rate their agreement with the items using 5-point Likert scale. The researcher analyzed the answers and included the medians and inter-quartile range of each item into the questionnaire. This questionnaire was resubmitted to the experts so they could reconsider their original rating and rate the questionnaire for the second round. Data from the second round were analyzed and reported.

 

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลการดำเนินงานทางด้านการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย รามคำแหง ตลอดจนตรวจสอบปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการในด้านการจัดการความรู้ งานวิจัยนี้ใช้ เทคนิคการเก็บข้อมูลแบบเดลฟาย โดยขอข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ 18 ท่าน ประกอบด้วยผู้บริหาร 6 ท่าน อาจารย์6 ท่าน และ พนักงาน 6 ท่าน ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้มีประสบการณ์ทำงานกับมหาวิทยาลัยมากกว่า 10 ปี บางท่านปฏิบัติงาน ให้มหาวิทยาลัยมาตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง ดังนั้น ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้มีความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานในมหาวิทยาลัยอย่าง ถ่องแท้ ผู้วิจัยรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับผู้เชี่ยวชาญทั้ง 18 ท่าน ข้อมูลที่ได้ถูกนำมาเรียบเรียง ภายใต้กรอบแนวคิดของการจัดการความรู้ คือ การสร้าง การจัดเก็บ การเผยแพร่ และ การประยุกต์ใช้ความรู้ เพื่อ สร้างเป็นแบบสอบถาม หลังจากนั้นผู้วิจัยนำแบบสอบถามชุดนี้กลับไปให้ผู้เชี่ยวชาญให้คะแนนความคิดเห็นแบบ 5-point Likert Rating Scale คะแนนที่ได้ถูกนำมาวิเคราะห์เพื่อหาค่า Median และ Inter-quartile Range คะแนน เหล่านี้ได้รับการบันทึกลงไปในแบบสอบถามและนำกลับไปให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาให้คะแนนอีกครั้งหนึ่ง ข้อมูล ที่ได้จากการเก็บคะแนนรอบที่สองนี้ถูกนำมาวิเคราะห์และนำเสนอเป็นรายงานการวิจัย

Article Details

Section
Research Articles