Effects of clothing on physiological responses, sweating, and body temperature during exercise in hot and humid environment

Main Article Content

Tran Minh Tuan
Pratoom Muongmee
Poonpong Suksawang

Abstract

The purpose of this study was to find out the differences in body temperature, sweat rate, VO2max, exhaustion time, and heart rate during exercise in hot and humid environment under sunlight. Ten male college students majoring in track and field major at Hochiminh City University of Sport (HUS), Vietnam were selected with some criteria for the study. Body temperature, sweat rate, VO2max, heart rate, and exhaustion time were measured during and after the Astrand Cycle Test until exhaustion in two experiments (wearing normal t-shirt and cover-all clothing). The temperature and humidity during exercise in normal t-shirt were 34.51 ± 2.750C and 65.8 ± 5.31% respectively, while during exercise in cover-all clothing were 34.47 ± 2.840C and 63.6 ± 7.1% respectively. Data were analyzed using the statistical package for social science program (SPSS for Windows, version 20). Dependent t-test was used to evaluate the differences of the five variables. Significant level was set at .05.

The results of this study showed that body temperature and sweat rate in cover-all clothing were significantly higher than wearing normal clothing. However, there were no significant differences in heart rate, VO2max, and exhaustion time between two clothing conditions. The results led to the conclusion that (1) high temperature and humidity affected thermoregulatory strain during exercise between normal t-shirt and cover-all clothing as reflected by higher body temperature and sweat rate, (2) cover-all clothing condition had no effect on heart rate, VO2max, and exhaustion time in acclimatized individuals when compared with normal t-shirt (3) cover-all clothing may be of benefit in protecting skin from strong sunlight; however, it was not recommend during athletic training and leisure time outdoor physical activities.

 

วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อหาความแตกต่างของอุณหภูมิร่างกาย อัตราการหลั่งเหงื่อระยะเวลายืนระยะ อัตราการใช้ออกซิเจนในปริมาณสูงสุด อัตราการเต้นของหัวใจขณะออกกำลังกายในสภาพอากาศที่ร้อนชื้นใต้แสงแดด กลุ่มทดลองเป็นนักศึกษาชาย จำนวน 10 คน ที่เรียนวิชากรีฑาเป็นวิชาเอกที่มหาวิทยาลัยการกีฬาโฮจิมินห์ (HUS) โดยผ่านเกณฑ์ในการคัดเลือก ที่ผู้วิจัยตั้งไว้ ตัวแปรที่ศึกษา คือ อุณหภูมิแกนกลางร่างกาย อัตราการหลั่งเหงื่อ ระยะเวลา การยืนระยะ อัตราการใช้ออกซิเจนในปริมาณสูงสุด และอัตราการเต้นของหัวใจ ข้อมูลทั้งหมดถูก เก็บขณะและภายหลังสิ้นสุดการขี่จักรยานตามแบบทดสอบของออสตรานด์มีขึ้น 2 ครั้ง ครั้งที่หนึ่ง กลุ่มตัวอย่างสวมใส่เสื้อผ้าออกกำลังกายปกติ อุณหภูมิ 34.51 ± 2.75 องศาเซลเซียส  ความชื้นสัมพัทธ์ 65.8 ± 5.31 % ครั้งที่สอง สวมใส่เสื้อผ้าที่คลุมส่วนใหญ่ของร่างกาย อุณหภูมิ 34.47 ± 2.84 องศาเซลเซียส  ความชื้นสัมพัทธ์ 63.6 ± 7.1% ข้อมูลทั้งหมดนำมาวิเคราะห์ โดยโปรแกรม SPSS รุ่น 20 นัยสำคัญทางสถิติกำหนดไว้ที่ 0.05

ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่าอุณหภูมิร่างกายและอัตราการหลั่งเหงื่อขณะออกกำลังกายที่สวมใส่เสื้อผ้าที่คลุมส่วนใหญ่ของร่างกายสูงกว่าขณะออกกำลังกายที่สวมใส่เสื้อผ้าปกติอย่างมีนัยสำคัญ อย่างไรก็ตาม อัตราการใช้ออกซิเจนในปริมาณสูงสุด อัตราการเต้นของหัวใจ ระยะเวลา การยืนระยะมีค่าไม่แตกต่างกันในสองสภาพสิ่งแวดล้อมจากข้อมูลที่ปรากฏทำให้สามารถสรุปได้ว่า (1) อุณหภูมิสูงกับความชื้นที่มีผลต่อความสามารถในการควบคุมอุณหภูมิร่างกายในระหว่างที่ ออกกำลังกายที่สวมใส่เสื้อผ้าคลุมส่วนใหญ่ของร่างกาย (2) เสื้อผ้าที่สวมใส่ในการวิจัยครั้งนี้ ไม่มีผลต่อค่าอัตราการใช้ออกซิเจนในปริมาณสูงสุดอัตราการเต้นของหัวใจและระยะเวลาการยืน ระยะในกลุ่มตัวอย่างที่เคยชินกับสภาพอากาศร้อน (3) เสื้อผ้าที่คลุมส่วนใหญ่ของร่างกายที่มี ประโยชน์ในการปกป้องผิวหนังจากความร้อนจากแสงแดด แต่ไม่แนะนำให้สวมใส่ขณะฝึก กีฬาหรือกิจกรรมนันทนาการหรือพักผ่อนกลางแจ้ง

Article Details

Section
Articles